บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
บทที่ 11
การออกแบบการทดลองเบื้องตน
(Introduction to Design of Experiment)
11.1 บทนํา
พันธกิจที่สําคัญอยางหนึ่งขององคกรคือ การจัดการดานคุณภาพ และ ผลิตภาพ ซึ่งใน 2 ดานนี้ คุณภาพเปนตัว
แปรตนที่สงผลโดยตรงตอผลิตภาพ คุณภาพจึงเปนปจจัยที่สงผลตอความสามารถในการแขงขันขององคกรทั้งระยะสั้น
กลาง และยาว โดยปจจัยที่สงผลตอระดับคุณภาพคือ ความผันแปร (Variation) ซึ่งเปนสิ่งที่ไมแนนอน แตอาจคาดเดา
ควบคุม หรือแมกระทั่งกําจัดไดดวยวิธีการทางสถิติ ดังนั้นการปรับปรุงคุณภาพของกระบวนการ หรือผลิตภัณฑ ไมวาจะ
ดําเนินการดวยเทคนิคใดก็ตาม จําเปนตองมีเครื่องมือทางสถิติที่เหมาะสมในการวิเคราะห เชนการปรับปรุงคุณภาพดวย
หลักการของซิกซซิกมา (Six Sigma) ซึ่งเชื่อวาปญหาของคุณภาพมีสาเหตุมาจากความผันแปรของปจจัยตาง ๆ ตาม
สมการที่ (11.1)
Y
= f(x1, x2,…, xn)
(11.1)
เมื่อ Y แทนคุณลักษณะทางคุณภาพ ซึ่งขึ้นอยูกับคาของตัวแปรสุม X ตาง ๆ โดย Xi แทนคาของปจจัยที่เกี่ยวของกับการ
ไดมาซึ่งหากตอ งการควบคุมคา Y ใหอยูในชวงที่กําหนดชวงใด ๆ โดยทั่วไปจะหมายถึงขอกําหนด (Specification) ของ
กระบวนการหรือผลิตภัณฑ) จะตองมีการกําหนดระดับของ Xi ใหเหมาะสม คําถามก็คือเราจะทราบระดับที่เหมาะสมของ
Xi เหลานี้ไดอ ยางไร การออกแบบการทดลองเปนเครื่องมือที่ใชเพื่อ วัตถุประสงคนี้ไดอยางมีประสิทธิภาพเมื่อผูใชมีความรู
ความเขาใจอยางเพียงพอ ตั้งแตการออกแบบการทดลอง การทําการทดลอง การวิเคราะห การแปรผล และการนําผลไป
ประยุกตใช ทั้งนี้เพื่อใหไดมาซึ่งผลิตภัณฑที่มีคุณภาพ ผลิตงาย มีความนาเชื่อถือไดสูง สามารถใชงานภายใตเงือนไขตาง
่
ๆ อยางมีประสิทธิภาพ การซอมและการดูแลรักษาทําไดงาย องคกรควรมีการวิเคราะหถึงปจจัยที่สงผลตอคุณภาพทุก
ขั้นตอน และกําจัดหรือควบคุมใหอยูในระดับที่จะไมสงผลตอผลลัพธของการดําเนินการในแตละขั้นตอน ดวยหลักการของ
การออกแบบการทดลอง หรือกลาวไดวาการออกแบบการทดลองสามารถใชตั้งแตการออกแบบเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑใหม
การปรับปรุงผลิตภัณฑที่มีอยูแลว และการออกแบบกระบวนการผลิตอยางเหมาะสม
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
เนื้อหาในบทนี้กลาวถึงหลักการเบื้องตน เกี่ยวกับการออกแบบการทดลอง โดยครอบคลุมความหมายของการ
ออกแบบการทดลอง วัตถุป ระสงค ขั้นตอนการออกแบบการทดลองทั่วไป และการออกแบบการทดลองแบบแฟกทอเรียล
แบบ 2k การวิเคราะหผลการทดลอง และการแปรความหมายเพื่อนําไปใชงานตอไป
11.2 การออกแบบการทดลอง (Design of Experiment, DOE) คืออะไร
DOE คือการทดสอบ หรือ ชุดของการทดสอบ เพื่อศึกษาผลของปจจัยนําเขา (Input) ตอผลลัพธที่สนใจ
คุณลักษณะทางคุณภาพ หรือ Quality Characteristics) โดยการเปลี่ยนระดับของปจจัยนําเขาอยางตั้งใจตามแผนการ
ทดลองที่ออกแบบไวมีคําศัพทที่ตอ งทราบคือ
-
-
-
ปจจัย (Factor) เปนปจจัยอิสระ (Independence) ที่ผูวิเคราะหสงสัยวาจะสงผลตอผลลัพธ ซึ่งแบงเปน 2
ประเภทคือ ปจจัยที่ควบคุมไมได (Uncontrollable factor หรือ Noise factor) แทนดวย z1, z2,…, zn และ
ปจจัยที่ควบคุมได (Controllable factor) แทนดวย x1, x2,…xn โดย DOE จะมุงเนนที่การศึกษาเพื่อบงชี้
ผลกระทบจากปจจัยที่ควบคุมไดตอผลลัพธที่สนใจ ในขณะที่ตองการกระจายผลของปจจัยที่ควบคุมไมได
ไมใหสงผลตอผลลัพธอยางมีนัยสําคัญ ปจจัยที่ควบคุมไดจะเรียกวา ทรีตเมนท (Treatment)
จํานวนครั้งในการทําการทดลองซ้ํา (Replication) เปนการทําการทดลองซ้ําดวยเงื่อนไขที่เหมือนกัน โดยใน
การทดลองหนึ่ง ๆ จะมีจํานวนเงื่อนไขการทดลอง (Treatment combination) เทากับผลคูณของจํานวน
ปจจัยและจํานวนระดับของแตละปจจัย เชน การทดลองที่มี 2 ปจจัย ๆ ละ 2 ระดับจะมีทั้งหมด 4 เงื่อนไข
การทดลอง
ผลลัพธทสนใจ (Response) เปนคุณลักษณะทางคุณภาพที่สนใจ ซึ่งเปนปจจัยไมอิสระ (Dependence)
ี่
ตองการศึกษา ควบคุม ซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงอยางมีนัยสําคัญตามการเปลี่ยนแปลงของ ทรีตเมนทตาง ๆ
การสุม (Randomization) เปนสวนหนึ่งของ DOE ที่พยายามใหผลของ Uncontrollable factors กระจาย
อยางสม่ําเสมอกับคาของ response ที่ไดจากการทดลอง
นอกจากนี้ยังมีคําศัพทอื่น ๆ ซึ่งจะอธิบายสอดแทรกในเนื้อหาตามความจําเปน ความสัมพันธระหวาง ปจจัย กระบวนการ
และ ผลลัพธ แสดงไดดวยตัวแบบทั่วไปของกระบวนการดังรูปที่ 11.1
วัตถุประสงคของการออกแบบการทดลองสามารถสรุปไดดังนี้
1. บงชี้ปจจัย x’s ที่อิทธิพลตอ Response
2. กําหนดระดับที่เหมาะสมของปจจัย x’s ที่อิทธิพลตอ Response Y เพื่อให Yมีคาเทากับหรือ ใกลเคียงกับ
เปาหมายมากที่สุด
3. กําหนดระดับที่เหมาะสมของปจจัย x’s ที่อิทธิพลตอ Response Y เพื่อใหมีความผันแปรของคา Y ต่ํา
4. กําหนดระดับที่เหมาะสมของปจจัย x’s ที่อิทธิพลตอ Response Y เพื่อใหอิทธิพลของ Uncontrollable factor มีนอยที่สุด
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
รูปที่ 11.1 ตัวแบบทั่วไปของกระบวนการ
การออกแบบการทดลองเปนเครื่องมือที่สําคัญอยางหนึ่งของการควบคุมกระบวนเชิงสถิติ เชนหากผลของการ
ติดตามกระบวนการดวยแผนภูมิควบคุมบงชี้วากระบวนการ out-of-control ซึ่งอาจมีปจจัยจํานวนมากที่เปนไปไดที่จะ
เปนสาเหตุของความผิดปกติ การที่จะปรับปรุง แกไขเพื่อนํากระบวนการกลับสูภาวะภายใตการควบคุมจะเปนไปไดยาก
หากไมทราบวาปจจัยตัวใหนที่สงผลตอ Response อยางมีนัยสําคัญ การออกแบบการทดลองจึงเปน เครื่องมือที่นิยมใช
เพื่อบงชีปจจัยเหลานี้ ทั้งนี้หากมีการประยุกตหลักการของ DOE ตั้งแตเริ่มตนพัฒนาผลิตภัณฑจะนําไปสูผลการ
้
ดําเนินการที่ดีขึ้นดังนี้
1. จํานวนผลผลิตจะดีขึ้น
2. ความผันแปรลดลงสงผลใหไดผลิตภัณฑที่มีคาคุณลักษณะทางคุณภาพอยูในชวงที่กําหนด และใกลกับ คา
เปาหมายที่ตองการ
3. ลดเวลาการพัฒนาผลิตภัณฑ
4. ลดตนทุนโดยรวม
นอกจากนี้การออกแบบการทดลองยังสามารถใชเปนเครื่องมือในการปรับปรุงผลิตภัณฑที่มีอยูแลวใหดียิ่งขึ้น
ดังนี้
1. ประเมินและเปรียบเทียบลักษณะพื้นฐานของผลิตภัณฑที่ออกแบบไวแลว
2. ประเมินเลือกวัตถุดิบชนิดตาง ๆ
3. บงชี้พารามิเตอรที่สงผลตอสมรรถนะของผลิตภัณฑอยางมีนัยสําคัญ
ซึ่งกลาวไดวาการประยุกตใช DOE อยางมีประสิทธิภาพจะสงผลตอการปรับปรุงดานความสามารถในการผลิต
(Manufacturability), สมรรถนะ (Performance) และความนาเชื่อถือ (Reliability), ตนทุน (Cost) และ ระยะเวลาในการ
พัฒนา (Development Time) ของผลิตภัณฑดีขึ้น
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
11.3 ขั้นตอนการออกแบบการทดลอง
เพื่อใหผลที่ไดจากการวิเคราะหดวย DOE มีความนาเชื่อถือ นําไปใชไดอยางมีประสิทธิภาพ จําเปนที่ผูวิเคราะห
ตองมีเปาหมายการศึกษา, Response ที่สนใจ, ปจจัยที่คาดวาจะสงผลตอ Response, วิธีการเก็บขอมูล ตลอดจน
แนวทางการวิเคราะห อยางชัดเจน ซึ่ง Montgomery (2001) และ Montgomery (2005) ไดสรุปแนวทางการศึกษาดวย
DOE ไวดังนี้
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
ศึกษาปญหา
กําหนด Response ที่ตองการศึกษา
กําหนดปจจัยที่ตองการควบคุม และ ระดับของปจจัย
กําหนดรูปแบบการทดลอง
ทําการทดลอง และเก็บขอมูล
วิเคราะหขอมูล
สรุป และ นําเสนอแนวทางการปรับปรุง
การศึกษาปญหา: ในขั้นตอนนี้ ผูวิเคราะหตองตระหนักวาปญหาคืออะไร ตองการขอมูลจากแหลงใดบาง เพื่อกําหนด
เปาหมายของการศึกษาใหชัดเจน การศึกษาในขั้นตอนนี้บอยครั้งที่พบวามีสวนทําใหผูวิเคราะหเขาใจกระบวนการไดดี
ยิ่งขึ้น และนําไปสูแนวทางการแกปญหาในที่สุด
การกําหนด Response ที่ตองการศึกษา: เปนขั้นตอนที่ผูทําการทดลองตองกําหนดคุณลักษณะทางคุณภาพที่มั่นใจได
วาเปนสิ่งที่ตองการปรับปรุงของกระบวนการที่ทําการศึกษาอยู อาจเปนผลมาจากการทํา SPC ทั้งนี้ตองมั่นใจไดวาระบบ
การวัดมีความสามารถเพียงพอ เนื่องจากระบบการวัดที่ไมมีความสามารถจะทําใหการบงชี้ปจจัยที่สงผลตอ Response
ไมชัดเจน เพราะผลการทดลองจะบงชี้ความแตกตางของผลของปจจัยไดเฉพาะปจจัยที่สงผลสูง ๆ เทานั้น ในขณะที่ปจจัย
ที่สงผลระดับต่ําถึงปานกลางจะไมสามารถแบงแยกได
การกําหนดปจจัยที่ตองการควบคุม และ ระดับของปจจัย: เปนขั้นตอนที่ผูทําการทดลองตองเลือกปจจัยที่สงสัยวา
จะสงผลตอ Response พรอมทั้งระดับของแตปจจัยที่ปรับเปลี่ยนได โดยตองพิจารณาใหสอดคลองกับสถาพการ
ดําเนินการจริง ซึ่งจะตองอาศัยขอมูลจากผูเชี่ยวชาญ และ/หรือ ประสบการณทํางานที่เกี่ยวของกับกระบวนการ หาก
กําหนดจํานวนปจจัย และระดับของปจจัยไมครอบคลุมจะทําใหไมไดผลการทดลองที่นําไปสูการแกปญหาไดอยางแทจริง
ในขณะทีการกําหนดมากเกินไปจะสงผลตอตนทุน และเวลาในการทดลอง อยางไรก็ตามกรณีที่มีจํานวนปจจัยที่เกี่ยวของ
่
จํานวนมากผูทําการทดลองสามารถคัดกรองปจจัยตองการการทดลองเบื้องตนหรือ Screening Experiment กอนที่จะทํา
การทดลองโดยละเอียดกับปจจัยที่คาดวาจะสงผลตอ Response อยางแทจริงตอไป
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
การกําหนดรูปแบบการทดลอง: เมื่อ 3 ขั้น ตอนแรกทําอยางถูกตองขั้นตอนนี้จะไมยุงยากนัก ผูทําการทดลองตองเลือก
รูปแบบ (Design) ของการทดลอง ซึ่งรวมถึงขนาดตัวอยาง จํานวนครั้งในการทําการทดลองซ้ํา (จํานวน replication) การ
กําหนดลําดับการทดลองอยางสุม เปนตน
การทดลองและการเก็บขอมูล : ผูทดลองตองควบคุมการทดลองใหเปนไปตามแผนที่วางไว ความผิดพลาดทั้งจากการ
ทดลองและการเก็บขอมูล จะสงผลใหการทดลองไมนาเชื่อถือ และไมสามารถนําไปวิเคราะหอะไรได เชนการไมทําการ
ทดลองตามหลักการของการสุมจะสงผลใหอิทธิพลของ Noise Factors ไมกระจายเฉลี่ย ทําใหผลของการทดลองแตละ
ครั้งขึ้นอยูกับผลการทดลองครั้งกอนหนา หรือครั้งอื่น ๆ (ไมอิสระตอกัน) หรือ มี Autocorrelation ระหวางขอมูลจากการ
ทดลองเปนตน
การวิเคราะหขอมูล: การวิเคราะหขอมูลทําตามหลักการของการวิเคราะหความแปรปรวน (ANalysis Of VAriance,
ANOVA) การวิเคราะหดวยกราฟ การวิเคราะหสมการเสนถดถอย ทั้งแบบเชิงเสนและไมเปนเชิงเสน ในการวิเคราะหจริงผู
วิเคราะหมีซอตฟแวรทางสถิติชวยในการวิเคราะหหลากหลายชนิด แตอยางไรก็ตามผูวิเคราะหควรเขาใจหลักการทางสถิติ
เพื่อการแปรความหมายที่ถูกตองดวย
การสรุปและนําเสนอแนวทางการปรับปรุง: เมื่อทราบผลการวิเคราะห การสรุปผลและแนะนําการดําเนินการเพื่อ
ปรับปรุงเปนสิ่งที่สําคัญอยางยิ่ง ผูวิเคราะหอ าจใชเครื่องมือเชน กราฟ เพื่ออธิบายความสัมพันธตาง ๆ และผลที่คาดวาจะ
ไดรับจากการปรับปรุงแกผูที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ควรมีการทดลองเพื่อยืนยันขอแนะนําการปรับปรุงอีกครั้งกอนการประยุกตใช
จริง นอกจากนี้ควรมีการตรวจติดตามผลการปรับปรุงดวยเครื่องมือของ SPC ที่เหมาะสมตอไปดวย
จากขั้นตอนทั้งหมด ขั้นตอนที่ 1 – 3 เปนขั้นตอนการเตรียมการทดลอง ซึ่งตอ งดําเนินการอยางระมัดระวังเพื่อไมใหเกิด
ความผิดพลาดขึ้น และไดผลการทดลองที่มีความนาเชื่อถือ นําไปสูการปรับปรุงไดอยางแทจริง โดยการดําเนินการตั้งแต
ขั้นตอนที่ 1 – 7 สามารถทําเปนรอบ ๆ ได จากการทดลองเพื่อคัดกรองปจจัย (Screening Experiment) การทดลองโดย
ละเอียดเพื่อบงชี้ปจจัยที่สงผลตอ Response อยางแทจริง (Refining Experiment) และการทดลองเพื่อ กําหนดระดับของ
ปจจัยที่มีผลอยางเหมาะสม (Optimizing Experiment) ความผิดพลาดที่พบบอยในการนํา DOE ไปใชกับงานจริงคือผู
ทดลองพยายามที่จะทําการทดลองขนาดใหญเพียงครั้งเดียว และสรุปผลใหได ซึ่งจะเปนสาเหตุของความผิดพลาดตาง ๆ
ที่ตามมาเชน ขอมูลที่ไดไมเปนอิสระตอกัน ความผันแปรของขอมูลไมคงที่ตลอดการทดลอง เปนตน
11.3 อิทธิพลของปจจัย (Factor Effects)
อิทธิพลของปจจัยจะประเมินจากการเปลี่ยนแปลงของ Response เมื่อระดับของปจจัยที่ศึกษาเปลี่ยนแปลงไป
ซึ่งแบงเปน 2 ประเภทคือ อิทธิพลหลัก หรือ Main Effect และ อิทธิพลรวม หรือ Interaction Effect
Main Effect เปนผลของการเปลี่ยนแปลงระดับปจจัยเฉพาะปจจัยหนึ่งโดยตรงตอ Response โดยมิไดเกี่ยวของ
กับการเปลี่ยนแปลงระดับของปจจัยอื่น ๆ เพื่อประกอบการอธิบาย ใหพิจารณารูปที่ 11.2ก และ 11.2ข ซึ่งสมมติวามี
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
ปจจัย A และ B ที่คาดวาสงผลตอ Response y แตละปจจัยสามารถปรับได 2 ระดับ เรียกวาระดับสูง (High level) แทน
ดวยเครื่องหมาย “+” และระดับต่ํา (Low level) แทนดวยเครื่อ งหมาย “-“ กลาวคือ ระดับสูงและระดับต่ําของปจจัย A จะ
แทนไดดวย A+ และ A- ตามลําดับ และระดับสูงและระดับต่ําของปจจัย B จะแทนไดดวย B+ และ B- ตามลําดับ (ซึ่งเปน
สัญลักษณ ที่ใชในการออกแบบการทดลองแบบแฟกทอเรียลแบบ 2k)
ก
ข
รูปที่ 11.2ก Response จากการทดลอง 2 ปจจัย ๆ ละ 2 ระดับ
R espp onse
40
30
Factor A
BB+
Response
10
20
35
+
30
40
20
BB+
10
0
Factor A
30
Respponse
50
25
20
BB+
Response
10
20
+
30
0
BB+
15
10
5
0
Factor A
Factor A
ก
ข
รูปที่ 11.3 กราฟแสดงผลของปจจัย แบบไมมีอิทธิพลรวม (ก) และแบบมีอิทธิพลรวม (ข)
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
Main Effect คํานวณจากคาเฉลี่ยของ Response ของแตละปจจัยที่ระดับสูงและต่ํา เชน จากรูปที่ 11.2ก Main
Effect ของปจจัย A และ Main Effect ของปจจัย A คํานวณไดดังนี้
Main Effect A =
y A y A
30 40 10 20
20
2
2
Main Effect B =
y B y B
20 40 10 30
10
2
2
อธิบายไดวาการเปลี่ยนระดับของปจจัย A จากต่ําไปสูง หรือจากสูงไปต่ํา จะสงผลให Response เปลี่ยนแปลงโดยเฉลี่ย
20 หนวย เชน การเปลียนจากระดับต่ําไปสูงจะทําให Response เพิ่มขึ้น 20 หนวย (ที่ ปจจัย B ระดับต่ํา Response เพิ่ม
่
จาก 10 เปน 30 และที่ปจจัย B ระดับสูง Response เพิ่มจาก 20 เปน 40) การเปลี่ยนระดับ จากสูงไปต่ําจะสงผลตรงกัน
ขามแตขนาดการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยจะคงที่ ในขณะที่การเปลี่ยนระดับของปจจัย B จากต่ําไปสูง หรือจากสูงไปต่ํา จะ
สงผลให Response เปลี่ยนแปลงโดยเฉลี่ย 10 หนวย เชน การเปลี่ยนจากระดับต่ําไปสูงจะทําให Response เพิ่มขึ้น 10
หนวย (ที่ ปจจัย A ระดับต่ํา Response เพิ่มจาก 10 เปน 20 และที่ปจจัย A ระดับสูง Response เพิ่มจาก 30 เปน 40)
การเปลี่ยนระดับจากสูงไปต่ําจะสงผลตรงกันขามแตขนาดการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยจะคงที่ ซึ่งจะเปนไดวาเมื่อเปลี่ยนระดับ
ของปจจัยตัวใดตัวหนึ่งจะทํานายไดทันทีวา Response เฉลี่ยจะเปลี่ยนแปลงกี่หนวยโดยไมจําเปน ตองพิจารณาอีกปจจัย
หนึ่ง เนื่องจากปจจัยแตละตัวสงผลตอ Response อยางอิสระตอกัน คือมีเฉพาะ Main Effect เทานั้น (ไมมี Interaction)
กรณีที่ปจจัย A และ B มี Interaction กันการเปลี่ยนระดับของปจจัยหนึ่งจะสงผลกับ Response อยางไร
จะตองพิจารณาระดับของอีกปจจัยหนึ่งดวยเพราะที่ระดับแตกตางกันการเปลี่ยนแปลงของ Response จะแตกตางกัน
ดวย เพื่อเปนตัวอยางประกอบคําอธิบายพิจารณารูปที่ 11.2 ข Main Effect ของปจจัย A และ Main Effect ของปจจัย A
คํานวณไดดังนี้
Main Effect A =
y A y A
30 0 10 20
0
2
2
Main Effect B =
y B y B
20 0 10 30
10
2
2
จากผลการคํานวณอาจนําไปสูการสรุปที่ผิดพลาดได เนื่อ งจาก Main Effect A = 0 ในที่นี้มิไดหมายความวาไมมีอิทธิพล
ของปจจัย A เพราะเมื่อคํานวณ เฉพาะ Main Effect ของปจจัย A ที่แตละระดับของปจจัย B จะไดผลแตกตางกัน ดังนี้
Main Effect ของปจจัย A ที่ปจจัย B ระดับต่ํา จะได
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
Main Effect A = 30 – 10 = 10
Main Effect ของปจจัย A ที่ปจจัย B ระดับสูง จะได
Main Effect A = 0 – 20 = -20
ดังนั้นการทํานายทิศทางการเปลี่ยนแปลงของ Response จะตองพิจารณาทั้งสองปจจัยพรอมกัน ในกรณีรูปที่ 11.2ข
อิทธิพลของปจจัย A ขึ้นกับระดับของปจจัย B คือ ถาที่ปจจัย B ระดับต่ํา การเปลี่ยนระดับของปจจัย A จากต่ําไปสูงจะทํา
ให Response เพิ่มจาก 10 เปน 30 ในขณะที่ Response จะลดลงจากจาก 20 เปน 0 ที่ปจจัย B ระดับสูง
การตรวจสอบเบื้องตน วามีอิทธิพลรวมระหวางปจจัยที่กําลังพิจารณาหรือไมทําไดโดยการพลอตกราฟ ดังรูปที่
11.3 ซึ่งหากพบวาเสนกราฟขนานกัน (รูปที่ 11.3 ก)แสดงวาไมมีอิทธิพลระหวางปจจัย และความชันของเสนบงชี้ระดับ
ของ Main Effect ซึ่งหากมีความชันมาก Main Effect ของปจจัยนั้นมีคาสูง ในทางตรงกันขามหากเสนกราฟไมขนานกัน
(รูปที่ 11.3 ข) เปนการบงชี้วามี Interaction ระหวางปจจัย
11.4 ประเภทของการทดลอง
การออกแบบการทดลองมีหลากหลายประเภทซึ่งผูทําการทดลองตองเลือกใหเหมาะสมกับลักษณะของปญหา
ซึ่งประกอบดวย จํานวนปจจัย เงื่อนไขการพิจารณา โครงสรางการทดลองโดยเฉพาะดานการสุม ความยาก – งายในการ
ทําการทดลอง ระยะเวลาที่มี ตนทุนที่ยอมได เปาหมายของการทําการทดลอง เปนตน ประเภทของการทดลองมีตั้งแต
แบบที่ไมซับซอน ไปจนถึงแบบที่มีความซับซอนมาก เชน การทดลองแบบปจจัยเดียว (Single Factor Design) การ
ทดลองแบบครั้งละปจจัย (One Factor at a Time Design) การทดลองแบบสุมสมบูรณ (Completely Randomized
Design) การทดลองแบบละตินสแควร (Latin Squares Design) การทดลองแบบแฟกทอเรียลเต็มรูป (Full Factorial
Design) การทดลองแบบแฟกทอเรี่ยลไมเต็มรูป (Fractional Factorial Design) และการทดลองดวยเทคนิคของ Taguchi
เปนตน ในการแนะนําเบื้องตนเกี่ยวกับ DOE นี้จะกลาวถึงเฉพาะ การทดลองแบบปจจัยเดียว (Single Factor Design)
การทดลองแบบครั้งละปจจัย (One Factor at a Time Design) การทดลองแบบแฟกทอเรียลเต็มรูป (Full Factorial
Design) และ การทดลองแบบแฟกทอเรี่ยลไมเต็มรูป (Fractional Factorial Design) เทานั้น สําหรับการออกแบบอื่น ๆ
ผูอานสามารถศึกษาเพิ่มเติมไดจากหนังสือดานการออกแบบการทดลองทั่วไป เชน Montgomery 2001 เปนตน
11.4.1 การทดลองแบบปจจัยเดียว (Single Factor Design)
เปนการออกแบบการทดลองเมื่อสงสัยวาปจจัยที่สงผลตอ Response มีเพียงปจจัยเดียวเทานั้น การทดลองจึง
มุงไปที่การศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยและ Response ซึ่งเปนการทดลองที่ออกแบบงาย แตอาจนําไปสูผลการ
วิเคราะหที่มิไดใหคําตอบที่เหมาะสมที่สุดเสมอไป (เนื่องจากพิจารณาเพียงปจจัยเดียวเทานั้น ในขณะที่อาจมีปจจัยอื่น ๆ
เกี่ยวของ และมีอิทธิพลแบบ Interaction ได)
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
ตัวอยางที่ 11.1 เปนการทดลองแบบปจจัยเดียว ที่ตองการศึกษาวาขนาดของหัวทิปที่ใช ทั้ง 3 ขนาด ในการ
เชื่อมจุดของชิ้นสวนตัวถังรถยนต มีผลตอขนาดของรอยบุบหลังการเชื่อมหรือไม การออกแบบการทดลองทําโดยการใชหัว
ทิปแตละขนาดในการเชื่อมจุด ขนาดละ 3 ครั้ง และวัดขนาดของรอยบุบ ดังนั้นจึงตองทําการทดลองทั้งหมด 9 ครั้ง ลําดับ
การทดลองทําโดยหลักการสุม ซึ่งอาจใชตารางเลขสุม หรือการสุมแบบอื่น ๆ ในกรณีนี้สมมติวาการสุมไดผลดังนี้
ขนาดหัวทิป
ลําดับที่ของการทดลอง
1
4
1
9
1
8
2
6
2
1
2
5
3
2
3
3
3
7
หรือจะไดลําดับ การทดลองแบบปจจัยเดียวดังนี้
การทดลองครั้งที่ ขนาดหัวทิปที่ใช
1
2
2
3
3
3
4
1
5
2
6
2
7
3
8
1
9
1
เมื่อ: ขนาด 1 = 3 มม.
ขนาด 2 = 5 มม.
ขนาด 3 = 7 มม.
เมื่อทําการทดลองจริงผูทดลองตองควบคุมปจจัยอื่น ๆ ใหไมใหสงผลตอการทดลองแตละครั้งแตกตางกัน และทําการ
ทดลองตามลําดับที่ออกแบบไว สมมติการทดลองนี้ไดผลดังตอไปนี้
การทดลองครั้งที่
1
2
3
4
5
6
7
8
9
ขนาดหัวทิปที่ใช ขนาดรอยบุบ (มม.)
2
5.2
3
5.5
3
6.2
1
4.5
2
5.8
2
5.1
3
6.3
1
4.9
1
4.4
จากนั้นนําผลการทดลองไปวิเคราะหตามหลักการทางสถิติซึ่งจะอธิบายหลักการในหัวขอตอไป
11.4.2 การทดลองแบบครั้งละปจจัย (One Factor at a Time Design)
เมื่อมีปจจัยที่สนใจมากกวา 1 ปจจัย การออกแบบการทดลองที่งายที่สุดคือการทดลองโดยปรับเปลี่ยนทีละ
ปจจัย และกําหนดระดับของปจจัยอื่น ๆ คงที่ อยางไรก็ตามการออกแบบการทดลองลักษณะนี้เปน การออกแบบที่มี
ประสิทธิภาพนอยที่สุด เพราะจะไมไดขอมูลของอิทธิพลรวมระหวางปจจัยเลย
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
ตัวอยางที่ 11.2 วิศวกรตองการตรวจสอบวาอุณหภูมิ และ เวลาในการผลิตสงผลตอผลผลิตหรือไมอยางไร การทดลอง
แบบครั้งละปจจัยสามารถทําไดคือ กําหนดการทดลองเปน 2 ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 1: กําหนดอุณภูมิคงที่เทากับ 160
มีชวงหาง 0.5 ชั่วโมง สมมติวาไดผลดังนี้
F
และปรับเปลี่ยนเวลาการผลิต 5 ระดับ จาก 0.5 ชั่วโมง ถึง 2.5 ชั่วโมง
เวลาในการผลิต (ชั่วโมง) ผลผลิต (%)
0.5
42.0
1.0
50.0
1.5
62.0
2.0
70.0
2.5
66.0
ผลการทดลองในขั้นตอนที่ 1 บงชี้วาเปอรเซ็นตผลผลิตสูงสุดที่เวลาการผลิต 2.0 ชั่วโมง เทากับ 70% ดังนั้นเพื่อประเมินวา
อุณหภูมิสงผลอยางไร ผูทําการทดลองออกแบบการทดลองในขั้นตอนที่ 2 ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1: กําหนดเวลาในการผลิตคงที่เทากับ 2.0 ชั่วโมง และปรับเปลี่ยนอุณหภูมิการผลิตจาก 140
เพิ่มขึ้นครั้งละ 10 F สมมุติวาไดผลดังนี้
อุณหภูมิในการผลิต
140.0
150.0
160.0
170.0
180.0
F
ถึง 180
F
ผลผลิต (%)
36.0
44.0
76.0
62.0
31.0
จากผลการทดลองจะเห็น วาเปอรเซ็น ตผลผลิตสูงสุดที่อุณหภูมิ 196 F ดังนั้นจึงสรุปวาควรปรับตั้งกระบวนการผลิตใหมี
เวลาการผลิต 2.0 ชั่วโมง และ อุณหภูมิ 160 F ซึ่งจะไดผลผลิตเฉลี่ยเทากับ (70 + 76)/2 = 73% อยางไรก็ตามผลการ
ทดลองนี้มิไดพิจารณาอิทธิพลรวมกันระหวางเวลาในการผลิตและอุณหภูมิ จึงยังไมอาจสรุปไดวาที่เงื่อนไขการผลิตดังที่
ไดจากผลการทดลองแบบครั้งละปจจัยนี้จะเปน เงื่อนไขการผลิตที่เหมาะสมที่สุดหรือไม
11.4.3 การทดลองแบบแฟกทอเรียลเต็มรูป (Full Factorial Design)
เปนการออกแบบที่กําหนดใหมีการทดสอบทุก ๆ ทางเลือกที่เปนไปได (Combinations) ของปจจัยทั้งหมด ซึ่ง
ทําใหสามารถประมาณอิทธิพลของปจจัยตอ Response ไดทั้งแบบ Main effect และ Interaction แตการออกแบบการ
ทดลองแบบนี้ตองการเวลาและทรัพยากรในการทดลองมาก โดยเฉพาะเมื่อจํานวนปจจัยมีมากขึ้น การออกอาจแบง
ออกเปน 2 ลักษณะตามจํานวนระดับของแตละปจจัย คือ 1) เมื่อจํานวนระดับของแตละปจจัยมากกวา 2 ระดับขึ้น และ
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
2) เมื่อจํานวนระดับของแตละปจจัยเทากับ 2 ระดับ ในกรณีที่ 2 จะใชสัญลักษณ 2k Design โดยเลข 2 แทนจํานวนระดับ
ของแตละปจจัย และ k แทนจํานวนปจจัยที่พิจารณาในการทดลอง ในการทดลองจะมีสัญลักษณที่เกี่ยวของคือ
ระดับของปจจัย A สามารถปรับเปลี่ยนได จากระดับ 1, 2, ..., a
ระดับของปจจัย B สามารถปรับเปลี่ยนได จากระดับ 1, 2, ..., b
ระดับของปจจัย C สามารถปรับเปลี่ยนได จากระดับ 1, 2, ..., c
……………………………………………
จํานวนครั้งในการทําการทดลองซ้ําหรือ Replication
ผลการทดลองจากการทดลองที่ปจจัย A, B และ C ระดับ i, j และ k ตามลําดับครั้งที่ n
แทนดวย
แทนดวย
แทนดวย
i j k
แทนดวย
แทนดวย
n yijkn ขอมูลจากการทดลองกรณี 2 ปจจัย A จํานวน a ระดับ และ ปจจัย B จํานวน b ระดับ จะไดดังตารางที่ 11.1
ตารางที่ 11.1 ขอมูลของการทดลอง 2 ปจจัย
…
y2b1, y2b2,
…,y2bn
…
y221, y222,
…,y22n
…
y211, y212,
…,y21n
…
b y1b1, y1b2,
…,y1bn
…
2
ปจจัย B
2
… y121, y122,
…
…,y12n
…
ปจจัย A
1
1 y111, y112,
…,y11n
a
ya11, ya12,
…,ya1n
ya21, ya22,
…,ya2n
…
yab1, yab2,
…,yabn
สิ่งสําคัญในการทําการทดลองตามที่ออกแบบไวจะตองไมลืมวาการทดลองแตละครั้งตองทําตามลําดับการสุม จาก
กระบวนการสุมที่เหมาะสม มิฉะนั้นอาจสงผลใหผลการทดลองที่ไดไมสามารถนํา ไปวิเคราะหและนําไปใชไดอยาง
นาเชื่อถือ เนื่องจากสมมติฐานของเทคนิคการวิเคราะหทางสถิติไมเปนจริง ซึ่งในทางปฏิบัติผูทําการทดลองสามารถสราง
ลําดับการทดลองแบบสุมโดยใชโปรแกรมการวิเคราะหทางสถิติเชน Minitab เปนตน ตัวอยางการออกแบบการทดลอง
แบบ Full Factorial ดังแสดงในตัวอยางที่ 11.3
ตัวอยางที่ 11.3 ในการเคลือบสีบนผิวอลูมีนัมของเครื่องบินวิศวกรทราบวามีปจจัยที่คาดวาจะสงผลตอความสามารถใน
การตานทานแรงเสียดสีของผิวเคลือบ 2 ปจจัย คือ วิธีการเคลือบผิว ซึ่งทําได 2 วิธี คือการจุม และ การพน และชนิดของสี
ทีใช ซึ่งมี 3 ชนิด (1, 2 และ 3) วิศวกรตองการทําการทดลอง 3 ครั้ง ในแตละ Combination (n = 3) ถากําหนดให A แทน
่
ชนิดของสี (a = 3) และ B แทนวิธีการเคลือบ (b = 2) การออกแบบการทดลองแบบ Full Factorial จะตองทําการทดลอง
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
ทั้งหมด 18 ครั้ง (a x b x n = 3 x 2 x 3) ลําดับการทดลองสามารถกําหนดแบบสุมดวยตารางเลขสุมหรือวิธีการสุม แบบ
อื่น ๆ ที่เหมาะสม ในที่นี้จะแสดงวิธีการกําหนดดวยโปรแกรม Minitab ดังนี้
1. เปดโปรแกรม minitab และเลือก Menu – Stat – DOE – Factorial – Create Factorial Design … ดังรูปที่ 11.4
รูปที่ 11.4 เลือก Option ออกแบบการทดลองแบบ Factorial
2. จะได Dialogue Box ดังรูปที่ 11.5 ใหเลือก Option General full factorial design [2 to 15 factors] และ กําหนด
Number of factors เปน 2 จากนั้นคลิก tab Designs…. เพื่อ
๊
รูปที่ 11.5 เลือก Option เลือกประเภทของการออกแบบและจํานวนปจจัย
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
3. จะได Dialogue Box ดังรูปที่ 11.6 ให กําหนดระดับปจจัย A และ B เปน 3 และ 2 ระดับ ตามลําดับ และ Number of replicates เปน 3 จากนั้นคลิ๊ก tab OK
รูปที่ 11.6 กําหนดจํานวนระดับของปจจัยและจํานวนครั้งในการทําการทดลองซ๊ํา
4. จะได Dialogue Box ดังรูปที่ 11.7 ซึ่งจะเห็นวา tab Design, Factors, Options และ Results เปลี่ยนจากสีเทาเปนสี
ดํา ซึ่งบงชี้วาใหคลิ๊กเพื่อกําหนดคาตาง ๆ ได (ผูอานทดลองดูได) ในที่นี้ใหคลิ๊กที่ tab Factors ซึ่งจะได Dialogue Box
Create factorial design – Factors ซึ่ง Level Values ของปจจัย A (ชนิดของสี) ที่ใชคือ 1, 2 และ 3 ถูกตองแลวจึงไมตอง
เปลี่ยน สําหรับปจจัย B (วิธีการเคลือบ) ในที่นี้ใหเปลี่ยน Type เปน Text และ Level Values เปน Dipping และ
Spraying ตามลําดับ จากนั้นคลิก tab OK
๊
รูปที่ 11.7 กําหนดชนิดของปจจัยและ คาของระดับปจจัย
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
5. คลิ๊ก tab OK อีกครั้ง จะได ผลลําดับการทําการทดลองดังแสดงในรูปที่ 11.8 คอลัมน C2 แสดงลําดับการทดลองจาก
ผลการสุม คอลัมน C6 และ C6-T บงชี้วาจะ ทําการทดลองที่ปจจัย A และ B ระดับใด เชนการทดลองลําดับที่ 1 ทําโดยใช
สีชนิดที่ 3 และ วิธีการจุม (dipping) เปนตน
รูปที่ 11.8 ลําดับการทําการทดลอง
จากนั้นวิศวกรทําการทดลองตามลําดับและไดผลดังแสดงในตารางที่ 11.2
ตารางที่ 11.2 ผลการทดลองวัดคาความตานทานแรงเสียดสีของผิวเคลือบ
ชนิดของสี, A
วิธีการเคลือบ, B
Dipping
Spraying
1
4.0
4.5
4.3
5.4
4.9
5.6
2
5.6
4.9
5.4
5.8
6.1
6.3
3
3.8
3.7
4.0
5.5
5.0
5.0
จากผลการทดลองวิศวกรตองทําการวิเคราะหตามหลักการทางสถิติเพื่อหาขอสรุปตอไป
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
การออกแบบการทดลองแบบ 2k แฟคทอเรี่ยล เมื่อมีจํานวนปจจัยที่พิจารณาจํานวน k ปจจัย แตละปจจัยสามารถ
ปรับเปลี่ยนได 2 ระดับ เรียกวาระดับสูง (High level) แทนดวยเครื่องหมาย “+” และระดับต่ํา (Low level) แทนดวย
เครื่องหมาย “-“ เชนถามีปจจัยที่สนใจ 2 ปจจัยคือ A และ B ระดับสูงและระดับต่ําของปจจัย A จะแทนไดดวย A+ และ Aตามลําดับ และระดับสูงและระดับต่ําของปจจัย B จะแทนไดดวย B+ และ B- ตามลําดับ ดังไดกลาวแลวในหัวขอ 11.3
แบบการทดลองที่งายที่สุดสําหรับกรณีนี้คือ k = 2 หรือ มี 2 ปจจัย ซึ่งเรียกวา 22 Factorial Design รูปแบบการทดลองดัง
แสดงในรูปที่ 11.9 ซึ่งจะประกอบดวย 4 Combinations หรือ Runs คือ
1.)
2.)
3.)
4.)
A Low, B Low หรือ A-, B- แทนดวย (1)
A High, B Low หรือ A+, B- แทนดวย a
A Low, B High หรือ A-, B+ แทนดวย b
A High, B High หรือ A+, B+ แทนดวย ab
ตัวอยางที่ 11. 4 แสดงตัวอยางการทดลองแบบ 22 Factorial Design
รูปที่ 11.9 รูปแบบการทดลองแบบ 22 Factorial Design
ตัวอยางที่ 11.4 ในกระบวนการควานรูบนแผน PCB เพื่อประกอบเปนวงจรอิเล็คทรอนิคส มีขนาดเสนผานศูนยกลางของ
รูที่ควานเปนคุณลักษณะทางคุณภาพที่สําคัญ ซึ่งจากการตรวจติดตามดวยแผนภูมิควบคุมคาเฉลี่ยและพิสัย วิศวกร
ควบคุมคุณภาพพบวากระบวนการปกติ (In Control) แตมีความผันแปรสูง สงผลใหเกิดปญหาในกระบวนการประกอบ
โดยวิศวกรและทีมงานปรับปรุงคุณภาพสงสัยวาปจจัยที่สงผลใหขนาดเสนผานศูนยกลางของรูควานมีความผันแปรสูงคือ
ขนาดของดอกควาน (ปจจัย A) 2 ขนาดคือ 1/16 นิ้ว และ 1/8 นิ้ว และความเร็วรอบในการควาน (ปจจัย B) ซึ่งปรับได 2
ระดับคือ 40 rpm และ 80 rpm ดังนั้น เพื่อการศึกษานี้ทีมงานไดใชการทดลองแบบ 22 Factorial Design มีขนาดดอก
ควาน 1/16 นิ้ว และ 1/8 นิ้ว แทน A Low และ A High ตามลําดับ ในขณะที่ ความเร็วรอบ 40 rpm และ 80 rpm แทน B
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
Low และ B High ตามลําดับ กําหนดให n = 4 มีเวคเตอรของแรงสั่นสะเทือนที่วัดตามแนวแกน X, Y และ Z ดวย
Accelerometers ซึ่งติดตั้งบนแผน PCB ที่ใหในการทดลองแตละแผนเปนคุณลักษณะทางคุณภาพ (ทั้งนี้เนื่องจากความ
ผันแปรของขนาดเสนผานศูนยกลางของรูควานไมสามารถวัดไดโดยตรงจากชิ้นงานทดลองแตละชิ้น) รูปแบบของการ
ทดลองนี้แทนไดดวยระนาบสี่เหลี่ยมดังรูปที่ 11.10
รูปที่ 11.10 รูปแบบการทดลองแบบ 22 Factorial Design ในตัวอยางที่ 11.4
จากนั้นทีมงานสามารถทําการทดลองตามรูปแบบที่กําหนด โดยผานกระบวนการสุม ซึ่งอาจใชตารางเลขสุมหรือใช
แผนการทดลองที่สุมลําดับการทดลองเรียบรอยแลวดวยโปรแกรม Minitab ลักษณะเดียวกับที่ไดแสดงในตัวอยางที่ 11.3
เพียงแตในขั้นตอนที่ 2 รูป 11.5 จะตองเลือก Option 2-level factorial (default generators) หรือ 2-level factorial
(specify generators) ดังรูปที่ 11.11
รูปที่ 11.11 เลือก Option เลือกประเภทของการออกแบบและจํานวนปจจัยแบบ 22 Factorial Design
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
ซึ่งสุมลําดับการทดลองที่เหมาะสมจะเปนการกระจายอิทธิพลของปจจัยที่ไมไดควบคุมตาง ๆ ไมใหสงผลตอการทดลอง
แตละครั้งอยางแตกตางกัน ซึ่งจะทําใหสมมติฐานทางสถิติในการวิเคราะหเปนจริง โดยสมมติฐานที่สําคัญคือความ
คลาดเคลื่อนจากการทดลองแตละครั้ง (Experimental Error, ) มีการกระจายตัวแบบปกติ และอิสระตอกัน (Normally,
Independently Distributed, NID) มีคาเฉลี่ย เทากับ 0 และ ความแปรปรวน เทากับ 2 (NID(0, 2)) ในกรณี
ตัวอยางนี้สมมติวาทีมงานทําการทดลองตามลําดับอยางเหมาะสม และไดผลการทดลองดังแสดงในตารางที่ 11.3
ตารางที่ 11.3 ผลการทดลองวัดคาแรงสั่นสะเทือนจากการควานรู
ความเร็วรอบ, B
ขนาดดอกควาน, A
40 rpm
80 rpm
1/16"
18.2
18.9
12.9
14.4
15.9
14.5
15.1
14.2
1/8"
27.2
24.0
22.4
22.5
41.0
43.9
36.3
39.9
จากผลการทดลองวิศวกรตองทําการวิเคราะหตามหลักการทางสถิติเพื่อหาขอสรุปตอไป
กรณีที่มีปจจัยมากกวา 2 ปจจัยขึ้นไป หรือ k ≥ 3 การทดลองและการวิเคราะหจะมีความซับซอนมากขึ้น โดยในกรณี
ของแฟคทอเรี่ยลซึ่งพิจารณาเพียง 2 ระดับของแตละปจจัย เชน k = 3 รูปแบบการทดลองจะแทนไดดวยรูปทรงลูกบาศก
ดังแสดงในรูปที่ 11.12 ประกอบดวยการทดลอง 8 combinations (หรือ 8 runs) ดังนี้
1.)
2.)
3.)
4.)
5.)
6.)
7.)
8.)
A Low, B Low, C Low หรือ A-, B-, C- แทนดวย (1)
A High, B Low, C Low หรือ A+, B-, C- แทนดวย a
A Low, B High, C Low หรือ A-, B+, C- แทนดวย b
A High, B High, C Low หรือ A+, B+, C- แทนดวย ab
A Low, B Low, C High หรือ A-, B-, C+ แทนดวย c
A High, B Low, C High หรือ A+, B-, C+ แทนดวย ac
A Low, B High, C High หรือ A-, B+, C+ แทนดวย bc
A High, B High, C High หรือ A+, B+, C+ แทนดวย abc
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
รูปที่ 11.12 รูปแบบการทดลองแบบ 23 Factorial Design
ในการทดลองแบบ 23 Factorial Design เปนการทดสอบอิทธิพลหลัก (Main effects) คือ A, B และ C อิทธิพลรวม 2
ปจจัย (2 ways interaction) คือ AB, AC และ BC และอิทธิพลรวม 3 ปจจัย (3 ways interaction) คือ ABC ซึ่งเปนผล
การทดลอลที่แตละมุมของรูปทรงลูกบาศกในรูปที่ 11.12
ตัวอยางที่ 11.5 การทดลองเพื่อตรวจสอบความเรียบผิวของชิ้นสวนโลหะ แบบ 23 Factorial design มีปจจัย A, B และ
C คือ อัตราปอน (Feed rate) ขนาดกินลึก (Depth of Cut) และ มุมของมีดตัด (Tool angle) วิศวกรทําการทดลองโดยมี
จํานวน Replicate = 2 ดังนั้นจึงมีทั้งหมด16 การทดลอง เพื่อกําจัดผลของปจจัยที่มิไดควบคุมอื่น ๆ ออกไป ลําดับของ
การทดลองทั้ง 16 ครั้งตองเปนลําดับสุม ซึ่งทําไดดวยวิธิเดียวกับตัวอยางที่ 11.3 และตัวอยางที่ 11.4 ในตัวอยางนี้เมื่อทํา
การทดลองครบแลวไดผลดังตารางที่ 11.4
ตารางที่ 11.4 ผลการทดลองวัดคาความเรียบผิวของชิ้นสวนโลหะ
อัตราปอน, A
Factors
ขนาดกินลึก, B
Low, BHigh, B+
มุมมีดตัด, C
มุมมีดตัด, C
Low,CHigh, C+
Low,CHigh, C+
Low, A-
9.0
7.0
11.0
10.0
9.0
11.0
10.0
8.0
High, A+
10.0
12.0
10.0
13.0
12.0
15.0
16.0
14.0
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
หรือแสดงไดดวยรูปทรงลูกบาศกดังรูปที่ 11.13
รูปที่ 11.13 ผลการทดลองแบบ 23 Factorial Design ตัวอยางที่ 11.5
จากผลการทดลองที่ไดวิศวกรตองทําการวิเคราะหตามหลักการทางสถิติเพื่อหาขอสรุปตอไป
ในกรณีที่จํานวนปจจัยเพิมขึ้น เชน 4 ปจจัย รูปแบบของการทดลองอาจแสดงไดดวยรูปลูกบาศก 2 ลูก ดังรูปที่ 11.14 ซึ่ง
่
จะสังเกตุไดวาจํานวน Runs จะเพิ่มขึ้นจาก 8 เปน 16 runs เมื่อจํานวนปจจัยเพิ่มจาก 3 เปน 4 ปจจัย ดังนั้นถาจํานวน
Replicates มาก ก็จะสงผลใหตนทุนและเวลาของการทดลองเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว เพื่อแกปญหานี้ ผูวิเคราะหอาจใชการ
ทดลองที่มีเพียง replicate เดียวหรือออกแบบการทดลองแบบแฟคทอเรียบไมเต็มรูป
รูปที่ 11.14 ผลการทดลองแบบ 24 Factorial Design (ปจจัย A, B, C และ D)
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
11.4.4 การทดลองแบบแฟกทอเรี่ยลไมเต็มรูป (Fractional Factorial Design)
จากการที่จํานวน Runs ของการออกแบบการทดลองแบบ 2k Factorial จะเพิ่มขึ้น เมื่อจํานวนปจจัยเพิ่มขึ้น เชน
25 จะมี 32 Runs ถามี 3 Replicates จะตองทําการทดลองทั้งหมด 96 ครั้ง ในการทดลองนี้จะมี อิทธิพลหลัก (Main
Effects) 5 ตัว อิทธิพลรวม 2 ปจจัย (2 Ways Interactions) 10 ตัว เปนตน อยางไรก็ตามหากทราบหรือ มีแนวโนมวา
อิทธิพลรวมระหวางปจจัย หลายปจจัย (High Order Interactions) จะไมมีผลอยางมีนัยสําคัญ ดังนั้นการทดลองเพียง
บางสวน หรือการทดลองแบบไมเต็มรูปจะยังคงใหขอมูลที่มีนัยสําคัญเพียงพออยู โดยการทดลองแบบไมเต็มรูปจะเปน
แบบ 2k-p Factorial Design เชน เมื่อ p =1 จะเปนการทดลองแบบ Half Factorial Design ซึ่งจะลดจํานวนการทดลองได
ครึ่งหนึ่ง เมื่อ p = 2 จะลดจํานวนการทดลองเหลือเพียง 1/4 เทานั้น โดยนี้จะกลาวถึงเฉพาะ Half Factorial Design
เทานั้น เพื่อแสดงตัวอยางการทดลองพิจารณาตัวอยางที่ 11.6
ตัวอยางที่ 11.6 การทดลองเพื่อตรวจสอบความเรียบผิวของชิ้นสวนโลหะ แบบ 23 Factorial design ในตัวอยางที่ 11.5
ถากําหนดใหทําการทดลองแบบ 23-1 Factorial design จะมีการทดลองเพียง 4 Runs เทานั้น โดยอาจเลือกทําการทดลอง
เฉพาะ การทดลองที่มีผลคูณของสัมประสิทธิของอิทธิพลรวม 3 ปจจัย (3 way interaction) หรือ ABC Effect มีเครื่องเปน
+ หรือ – ทั้งหมด ในกรณีนี้แทน ABC Effect ดวย I หรือ
กําหนดให
I = ABC
เรียกวา องคประกอบแสดงความสัมพันธ (Defining Relation Element) ของการออกแบบ โดยการทดลองที่เลือกการ
Run เฉพาะ I เปน + เรียกวาสัดสวนหลัก (Principal Fraction) ในทางตรงกันขาม การทดลองที่เลือกการ Run เฉพาะ I
เปน - เรียกวาสัดสวนรอง (Alternative Fraction) สําหรับ การทดลอง 23-1 Factorial design ของตัวอยางที่ 11.5 จะแสดง
ไดดังรูปที่ 11.15
รูปที่ 11.15 การทดลองแบบ 23-1Factorial Design ปจจัย A, B และ C แบบ Principal Fraction I = +ABC (ก)
และ แบบ Alternative Fraction I = -ABC (ข)
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
จากตัวอยางที่ 11.6 จะเห็นวาการออกแบบการทดลองแบบแฟคทอเรียลไมเต็มรูป จะตองกําหนด Effect ที่เปนตัว
Defining Relation (I) เทากับ อิทธิพลที่เปนตัวกําเนิด (Generator) ในกรณีนี้คือ ABC ซึ่งโดยปกตินิยมกําหนดอิทธิพล
รวมระหวางปจจัยที่มีจํานวนปจจัยมากที่สุด (Highest Order Interactions) เปนตัว Generator นอกจากนี้ในการ
ออกแบบการทดลองยังตองคํานึงถึงการที่ Effects ระหวาง Low Order Effect และ High Order Effect คูใด ๆ ที่มีคา
เทากัน ซึ่งจะเรียกวา อิทธิพลระหวางคูนั้น ๆ Aliases กัน เชน อิทธิพลของ A มีคาเทากับอิทธิพลของ BC จะเรียกวา
อิทธิพลทั้งสอง Aliases กัน หรือ อิทธิพล A เปน Aliases กับอิทธิพล BC โดย อิทธิพลของ Aliases คูใด ๆ จะประเมินได
จาก Contrast เดียวกัน ซึ่งจะไดกลาวถึงตอไป
11.5 การวิเคราะหผลการทดลอง
ในการออกแบบการทดลองผูวิเคราะหตองการทราบวาปจจัยใดบางสงผลตอ Response อยางมีนัยสําคัญ ซึ่ง
ประเมินไดจากเมื่อเปลี่ยนระดับของปจจัยหรือทรีตเมนทแลวทําให Response เปลี่ยนไปอยางมีนัยสําคัญ ดังนั้นการ
วิเคราะหจึงเปน การเปรียบเทียบระหวางแตละระดับของแตปจจัย หรือกลาวไดวาเปนการเปรียบเทียบ Response เมื่อมี
ประชากรมากกวา 2 กลุมนั่นเอง ดังนั้นการวิเคราะหจึงทําไดโดยการประยุกตหลักการของการวิเคราะหความแปรปรวน
(Analysis of Variance, ANOVA) ในที่นี้จะไมกลาวถึงการวิเคราะหแบบปจจัยเดียวเนื่องจากสามารถทําไดโดยการใช
One-Way ANOVA โดยตรง ซึ่งผูอานมีพื้น ฐานเปนอยางดีแลว
11.5.1 การวิเคราะหกรณีการทดลองแบบแฟคทอเรี่ยลเต็มรูปทั่วไป
ในกรณี 2 ปจจัย เมื่อกําหนดให A และ B แทนปจจัย ซึ่งปรับเปลี่ยนได a และ b ระดับ ตามลําดับ ถาทําการ
ทดลอง n ครั้ง ขอ มูลจากการทดลองจะแสดงไดดังตารางที่ 11.1 โดยมี yijk แทน Response จากการทดลองที่ระดับ ith ของปจจัย A ระดับ jth ของปจจัย B ครั้งที่ kth
ซึ่งจะมีขอมูลทั้งหมด abn ตัวจากการทดลองดวยลําดับแบบสุม abn ครั้ง ซึ่งกลาวไดวาเปนการทดลองแบบสุมสมบูรณ
(Completely Randomized Design) โดยปจจัยทั้งสองสงผลตอ Response คงที่ (Fixed Effects) และ Response จาก
การทดลองสามารถแทนไดดวยตัวแบบทางสถิติ ตามสมการที่ 11.2
y ijk i j ( )ij ijk
เมื่อ
i
i
( )ij
แทน
แทน
แทน
แทน
i 1 ,2 ,..., a
j 1 ,2 ,..., b
k 1,2 ,..., n
(11.2)
คาเฉลี่ยรวมของ Response
อิทธิพลของปจจัย A ระดับที่ ith
อิทธิพลของปจจัย B ระดับที่ jth
อิทธิพลรวมระหวางของปจจัย A และปจจัย B ระดับที่ ith และ jth
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
ijk
แทน
ความคลาดเคลื่อนแบบสุมของการทดลอง ที่ระดับ ith, jth ครั้งที่ kth
โดย ijk จะตองมีคุณสมบัติคือมีการแจกแจงแบบปกติ และเปนอิสระตอกันมีคาเฉลี่ยเทากับ 0 และความแปรปรวน 2
หรือ NID(0, 2) ซึ่งอธิบายไดวาหากการทดลองเปน ไปแบบสุมแลวความคลาดเคลื่อนที่อาจเกิดขึ้นจากปจจัยที่ไมได
ควบคุมอื่น ๆ จะตองกระจายกับ Response ทุก ๆ ตัว ซึ่งอาจสูงบางต่ําบาง แตโดยเฉลี่ยแลวความคลาดเคลื่อนทางดาน
สูงและต่ําควรสมดุลกัน และความคลาดเคลื่อนจากการทดลองแตละครั้งจะตองเปนอิสระตอกัน
สมการที่ 11.2 อธิบายไดวา คาของ Response จากการทดลองแตละครั้งจะขึ้นอยูกับอิทธิพลหลัก ของปจจัย A และ B
และ อิทธิพลรวมระหวางปจจัย AB ซึ่งแทนไดดวย i , i และ ( )ij ตามลําดับ ในการวิเคราะหซึ่งตองการทดสอบ
สมมติฐานวา อิทธิพลของปจจัย A มีผลหรือไม อิทธิพลของปจจัย B มีผลหรือไม และ อิทธิพลรวมระหวางปจจัย A และ
B มีผลหรือไม หรือเขียนเปนสมมติฐานไดดังนี้
อิทธิพลของปจจัย A มีผลหรือไม
H0:
1 2 ,..., a
H1:
i j ; i j อยางนอย 1 คู
อิทธิพลของปจจัย B มีผลหรือไม
H0:
1 2 ,..., b
H1:
i j ; i j
อยางนอย 1 คู
อิทธิพลรวมระหวางปจจัย A และ B มีผลหรือไม
H0:
( )11 ( )12 ,...,( )ab
H1:
( )ij ( )kl
; ij kl
อยางนอย 1 คู
โดยถาปจจัย A ไมมีผลตอการเปลี่ยนแปลงของ Response แลวจะไดคา i ตาง ๆ ไมแตกตางกัน ซึ่งเมื่อทดสอบ
สมมติฐานก็จะไมสามารถปฏิเสธสมมติฐานหลักได สําหรับปจจัย B และอิทธพลรวมระหวางปจจัยสามารถอธิบายไดใน
ลักษณะเดียวกัน
ในการวิเคราะหความแปรปรวนจะตอ งประเมินผลรวมกําลังสอง (Sum of Square, SS) ของความผันแปรเปน
ดัชนีบงชี้ความผันแปร โดยความผันแปรรวม (Total Variation) ซึ่งประเมินจาก Sum of Square of Total (SST) จะ
ประกอบดวยความผันแปรจากปจจัย ประเมินจาก Sum of Square of Treatment (SSTr หรือ SSwithin) และ ความผันแปร
ความผิดพลาดของการทดลองหรือปจจัยอื่น ๆ ซึ่งไมไดควบคุม ประเมินจาก Sum of Square of Error (SSE หรือ SSbetween)
หรือแสดงไดดวยความสัมพันธดังสมการที่ (11.3)
ความผันแปรรวม = ความผันแปรจากปจจัย + ความผันแปรจากความคลาดเคลื่อน
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
ซึ่งประเมินไดจาก
SStotal
= SSTr + SSerrer
(11.3)
โดย SSTr จะเปนผลรวมกําลังสองของความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของแตละระดับของแตละปจจัยกับคาเฉลี่ยรวม (
ซึ่งประมาณดวย y... ) ดังนั้นจึงประกอบดวยผลรวมกําลังสองที่มาจากอิทธิพลของแตละปจจัยคือ A และ B และ อิทธิพล
รวมระหวางปจจัย AB ในกรณี 2 ปจจัยนี้ SSTr จึงประกอบดวย SSA, SSB และ SSAB
การประเมินคา Sum of Square ตาง ๆ จะใชสัญลักษณ . (dot) แทนการหาผลรวมตามแนวแถวหรือคอลัมน หรือแถวและ
คอลัมนที่ . ปรากฏอยู เชน yi. แทนการหาผลรวมของทุกคอลัมนตลอดแถว i และ y.j แทนการหาผลรวมของทุกแถวใน
คอลัมน j เปนตน ความสัมพันธทใชในการประเมินแสดงไดดังสมการที่ (11.4)
ี่
b
yi ..
n
yijk
yi..
j 1 k 1 a y. j .
n
yijk
y .j.
i 1 k 1 n yij.
yijk k 1 a b
y ...
yij. n yijk
y ...
i 1 j 1 k 1
yi .. bn i 1,2,...,a
y. j .
j 1,2,...,b
bn
(11.4)
yij.
i 1,2,...,a j 1,2 ,...,b
n y ... abn ดังนั้นความสัมพันธในสมการที่ (11.3) สามารถแทนไดดวยความสัมพันธในสมการที่ (11.5) a b
n
2
yijk y...
2
a
bn
i1 j 1 k 1
yi.. y... i 1 a n
2
b
y. j . y...
an
j 1 b 2
2
(11.5)
yij. yi.. y. j . y... yijk yij. i 1 j 1
หรือแทนดวยสัญลักษณดังสมการที่ (11.6)
SST = SSA + SSB + SSAB + SSE
โดยมีองศาความเปนอิสระของขอมูล (Degree of Freedom, df) ของขอมูลดังแสดงในสมการที่ (11.7)
(11.6)
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
dfT
= dfA + dfB + dfAB + dfE abn-1 = (a-1) + (b-1) + (a-1)(b-1) + ab(n-1)
(11.7)
การประเมิน df ทําไดโดยการพิจารณาจํานวนขอมูลในสมการที่ (11.5) เชนกรณีของ SST ประเมินไดจาก a SST
b
2
n
yijk y... i 1 j 1 k 1
1 ตัว abn ตัว
ซึ่งประกอบดวย yijk จํานวน abn ตัว แตตองประมาณพารามิเตอร y... จํานวน 1 ตัวทําใหขอมูลเสียความอิสระไป จึงทําได
เหลือ ขอมูลที่มีความอิสระเพียง abn – 1 ตัว กรณีอื่น ๆ พิจารณาไดในทํานองเดียวกัน
เพื่อความสะดวกในการคํานวณองคประกอบของความผันแปรเหลานี้ สมการที่ (11.5) สามารถแยกแสดงไดดังสมการที่
(11.8) – (11.12) ดังนี้
อิทธิพลหลัก (Effects): a SST
b
n
y2
...
yijk abn
(11.8)
i 1 j 1 k 1
a
SS A
i 1
y .2j .
b
SS B
yi2 y2 ..
... bn abn
an j 1
(11.9)
2
y...
abn
(11.10)
อิทธิพลรวม (Interaction): a SS AB
b
i 1 j 1
2 yij .
n
2
y...
SS A SS B abn (11.11)
ความคลาดเคลื่อน (Error):
SS E SST SS A SS B SS AB
(11.12)
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
โดยพจน
2
y...
ในแตละสมการตําราบางเลมจะเรียกวา Corrected Factor หรือ CF และเพื่อทดสอบสมมติฐานโดยปกติ abn จะใชตาราง ANOVA ดังแสดงในตารางที่ 11.5 ซึ่งในทางปฏิบัติจะใชโปรแกรมคอมพิวเตอร
ตารางที่ 11.5 ตาราง ANOVA สําหรับกรณี 2 ปจจัย (A และ B) ของตัวแบบอิทธิพลคงที่ (Fixed Effects Model)
Source of Variation
A
Sum of Squares
SSA
Degree of Freedom
Mean Square a-1 MSA= SS A a 1
B
SSB
b-1
MSB= SS B
b 1
AB
SSAB
(a-1)(b-1)
MSAB=
Error
SSE
ab(n-1)
MSE=
Total
SST
F0
F0= MS A
MS E
F0=
MS B
MS E
F0=
MS AB
MS E
abn-1
SS AB
( a 1 )( b 1 )
SS E ab( n 1 )
จากการทีสัดสวนของคาเฉลี่ยความผันแปร (คา F0) มีพฤติกรรมที่อธิบายไดดวยการแจกแจงแบบ F ดังนั้นการวิเคราะหวา
่
อิทธิพลจากแตละแหลง (ในที่นี้คือ A, B และAB) มีผลอยางมีนัยสําคัญ (Significance) หรือไม จึงประเมินจากเกณฑของ
คา F วิกฤต จาก F, 1, 2 เมื่อ 1 แทน degree of freedom ของคาเฉลี่ยกําลังสอง (Mean Square, MS) ของตัวตั้ง
(Nominator) และ 2 แทน degree of freedom ของคา MS ของตัวหาร (Denominator) โดยจะปฏิเสธสมมติฐานหลัก
เมื่อคา F0 มากกวาคา F 1, 2 ที่ระดับความมีนัยสําคัญ () ที่กําหนด
11.5.2 การวิเคราะหความคลาดเคลื่อนของการทดลอง
เนื่องจากในการทดลองหนึ่ง ๆ จะมีปจจัยที่ไมไดควบคุมจํานวนมาก และปจจัยเหลานี้จะสงผลตอความ
คลาดเคลื่อนของการทดลองซึ่งแทนดวย ijk หรือประมาณไดดวย eijk (คําศัพทที่ใชใน DOE คือ Residual ซึ่งหมายถึง
เศษเหลือ หรือสิ่งเหลือตกคาง หรือ คําแปลในทํานองนี้ ซึ่งทําใหการวิเคราะหความคลาดเคลื่อนถูกเรียกวา Residual
Analysis) เปนดัชนีหนึ่งที่บงชี้วาผลการทดลอง และตัวแบบสมการเสนถดถอย (Regression Model) ที่จะใชเปนตัวแบบ
ทํานายพฤติกรรมของปจจัยเชื่อถือไดมากนอยเพียงใด โดย eijk ตองมีลักษณะเปน NID(0,2) ดังไดกลาวแลวนั้น คา
Residual ของการทดลองแบบแฟคทอเรี่ยล 2 ปจจัย คํานวณไดจากสมการที่ (11.13) eijk yijk ˆ ijk y yijk yij .
(11.13)
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
จากสมการที่ (11.13) คา Residual คือผลตางระหวาง Response จากการทดลองและคาเฉลี่ยของการทดลองแตละ combination ith, jth หรือ คือผลตางระหวาง Response กับ คาที่ประมาณจากตัวแบบ ( ˆ ijk ) ในกรณีที่ผูวิเคราะหสราง y Regression Model ได
ในการวิเคราะหความคลาดเคลื่อนนิยมพิจารณาจากกราฟ ดังตอไปนี้
- Normality plot เพื่อตรวจสอบพฤติกรรมความเปนปกติของการแจกแจงของ residuals ทั้งหมด (Normality of Error)
- Scatter plot ระหวางคา residuals กับระดับตาง ๆ ของแตละปจจัย หรือ ระหวางคา residuals กับคาที่
คํานวณจาก Regression Model เพื่อตรวจสอบความสม่ําเสมอของความผันแปรตลอดชวงของปจจัย
(Homoscedasticity) หากความผันแปรไมสม่ําเสมอจะสังเกตุไดจากรูปแบบตาง ๆ ของ plot
- Scatter plot ระหวางคา residuals กับระยะเวลาการเก็บขอมูง เพื่อตรวจสอบความอิสระของ Residuals
(Independence of Error) ซึ่งอาจเกิดขึ้นเมื่อ การทดลองตอ เนื่องเปนระยะเวลานาน ถาหาก Residuals ไม
อิสระตอกันหรือมี Autocorrelation ระหวาง Responsesจะสังเกตุไดจากรูปแบบตางของ Plot เชนกัน
ตัวอยางที่ 11.7 จากขอมูลดังตารางที่ 11.2 (นํามาแสดงในตารางที่ 11. 6 ดานลางเพื่อความสะดวกในการวิเคราะห) ที่
ไดจากการทดลองในตัวอยางที่ 11.3 ซึ่งเปน การออกแบบการทดลองแบบ Full Factorial ของความสามารถในการ
ตานทานแรงเสียดสีของผิวเคลือบ ที่คาดวามี 2 ปจจัยที่สําคัญ คือ ชนิดของสีที่ใช ซึ่งมี 3 ชนิด (1, 2 และ 3) แทนดวย A
(a = 3)และวิธีการเคลือบผิว ซึ่งทําได 2 วิธี คือการจุม และ การพน แทนดวย B (b = 2) ทําการทดลอง 3 ครั้ง ในแตละ
Combination (จํานวน Replicate หรือ n = 3) จงวิเคราะหวา Main Effects และ Interaction Effect มีผลอยางมี
นัยสําคัญหรือไมที่ระดับ = 0.05
ตารางที่ 11.6 ผลการทดลองวัดคาความตานทานแรงเสียดสีของผิวเคลือบ จากตัวอยางที่ 11.3
วิธีการเคลือบ, B yi1. Spraying, yi2k
ชนิดของสี, A
Dipping, yi1k
y.j.
yi2.
yi..
1
4.0
4.5
4.3
12.8
5.4
4.9
5.6
15.9
28.7
2
5.6
4.9
5.4
15.9
5.8
6.1
6.3
18.2
34.1
3
3.8
3.7
4.0
11.5
5.5
5.0
5.0
15.5
40.2
49.6
27.0 y…= 89.8
ในตัวอยางนี้จะแสดงการคํานวณคาตาง ๆ จากสมการขางตน จากนั้นจะแสดงการวิเคราะหดวย Excel และ Minitab เพื่อ
เปรียบเทียบ ดังตอไปนี้
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
จากขอมูลในตารางที่ 11.6 จะได CF
CF
( 89.8 ) 2
448.0022
( 3 )( 2 )( 3 )
จากสมการที่ (11.8) - (11.12), จะได a SST
b
n
yijk
i 1 j 1 k 1
2 y ... abn ( 4.0 )2 ( 4.5 )2 ( 4.3 ) 2 448.0022 10.72
a
SS A
y2
y2
i
...
bn.. abn i 1
(28.7)2 (34.1)2 (27.0)2
448.0022 4.58
6
y .2j .
b
SS B
y2
...
an abn j 1
(40.2)2 (49.6)2 (27.0)2
448.0022 4.91
9
a
SS AB
b
i 1 j 1
2 yij .
n
2
y...
SS A SS B abn (12.8)2 (15.9)2 (11.5)2 (15.9)2 (18.2)2 (15.5)2
448.0022 4.58 4.91
3
0.24
และ
SS E SST SS A SS B SS AB
10.72 4.58 4.91 0.24 0.99
จากผลการคํานวณสามารถสรุปไดดังตารางที่ 11.7 และที่ระดับ =0.05 จะไดคา F วิกฤติ คือ
F0.05,2, 12 = 3.89 สําหรับการทดสอบ Main Effect A และ Interaction Effect AB
F0.05,1, 12 = 4.75 สําหรับการทดสอบ Main Effect B
ซึ่งจะเห็นไดวาคา F0 ของปจจัย A และ B สูงกวาคา F วิกฤติ ในขณะที่ของ Interaction AB ต่ํากวาคา F วิกฤติ จึงสรุปได
วา Main Effects A (ชนิดของสี) และ B (วิธีการเคลือบ) สงผลตอความสามารถในการตานทานการเสียดสีของผิวเคลือบ
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
อยางมีนัยสําคัญที่ระดับ =0.05 (Sig. ยอมาจาก Significance หรือปฏิเสธ H0) ในขณะที่ Interaction ระหวางปจจัย
ไมมีผล
ตารางที่ 11.7 ตาราง ANOVA สําหรับตัวอยางที่ 11.7
Source of
Sum of
Degree of
Variation
Squares
Freedom
A
4.58
2
B
4.91
1
AB
0.24
2
Error
0.99
12
Total
10.72
17
Mean Square
MSA= 4.58 2.29
2
4.91
MSB=
4.91
1
MSAB= 0.24 0.12
2
0.99
MSE=
0.08
12
F0
F,1,2
Result
F0= 2.29 28.63
3.89
Sig.
4.75
Sig.
3.89
Not Sig.
0.08
F0= 4.91 61.38
0.08
F0= 0.12 1.5
0.08
การวิเคราะหดวย Excel มีวิธีการดังตอไปนี้
1. จัดรูปแบบของขอมูลจากการทดลองตามรูปแบบที่ 1 หรือรูปแบบที่ 2 ดังรูปที่ 11.16
รูปที่ 11.16 การจัดเตรียมขอมูลเพื่อวิเคราะห ANOVA ดวย Excel
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
2. เลือก เมนู Tools – Data Analysis...- ANOVA: Two-Factors With Replication - OK จะปรากฏ Dialogue
Box สําหรับปอนขอมูล ใหปอนขอมูล ดังแสดงในรูปที่ 11.17 (กรณีนี้ใชการจัดขอมูลรูปแบบที่ 2 หากใชรูปแบบที่ 1 Input
Range จะเปลี่ยนเปน $B$2:$E$8)
รูปที่ 11.17 การปอนขอมูลเพื่อวิเคราะห ANOVA ดวย Excel
3. แปรความหมายของผลลัพธ ซึ่งแสดงในรูปที่ 11.18
รูปที่ 11.18 ผลการวิเคราะห ANOVA ดวย Excel
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
จากรูปที่ 11.18 จะเห็น ไดวาผลการวิเคราะหจะสอดคลองกับการคํานวณดวยมือกอนหนานี้ (คา F แตกตางกัน เล็กนอย
จากการปดเศษ) ยกเวนตาราง ANOVA จาก Excel จะแสดงคา P-Values ดวย (ซึ่งเหมือนกับโปรแกรมการวิเคราะหอื่น)
โดยคา P-Value คือพื้นที่ใตกราฟดานขวามือของคา F0 หรือความนาจะเปนที่ F ≥ F0 ดังนั้นจึงจะปฏิเสธสมมติฐานหลัก
เมื่อคา P-Value < จากตาราง ANOVA ของ Excel ปจจัย A จะแทนดวย Sample และ ปจจัย B แทนดวย Column
ทั้งนี้ขึ้นอยูกับการเลือกรูปแบบการจัดขอมูล ขอจํากัดของการใช Excel (อยางนอย Version Office 2003 หรือต่ํากวา) ใน
การวิเคราะหคือ ทําไดสูงสุดเพียง 2 ปจจัยเทานั้น การใชโปรแกรมเฉพาะทางดานสถิติ เชน Minitab จะครอบคลุม
ลักษณะของปญหามากกวา
การวิเคราะหดวย Minitab มีขั้นตอนดังนี้
1. เตรียมขอมูลดังแสดงในรูปที่ 11.19
รูปที่ 11.19 เตรียมขอมูลเพื่อการวิเคราะห ANOVA ดวย Minitab
2. เลือก เมนู Stat – ANOVA- Two-Way…จําปรากฏ Dialogue Box สําหรับปอนขอมูลดังรูปที่ 11.20 ให
เลือก Column C3 เปน Response, C1 และ C2-T เปน Row Factor และ Column Factor ตามลําดับ ผู
วิเคราะหอาจเลือก Option Graph เพื่อกําหนดกราฟ ที่ตองการเชน Normality Plot, Scatter Plot และ
Histogram นอกจากนี้ยังสามารถเลือก Option เกี่ยวกับ Residual และ คา Fitted ของตัวแบบ
Regression ไดดวย ในที่นี้ใหกําหนดดังรูปไปกอน เมื่อผูใชไดทดลองแลวอาจลองเลือก Option เปนอยาง
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
อื่น ตอไป เมื่อ Click OK จะไดผลลัพธเปนตาราง ANOVA และ กราฟ ดังรูปที่ 11.21 และ 11.22
ตามลําดับ (ในตัวอยางนี้ เลือก Option ของ Graph แบบ Four in One)
รูปที่ 11.20 การปอนขอมูลเพื่อวิเคราะห ANOVA ดวย Minitab
3. แปรความหมายของผลลัพธตามหลักการทางสถิติตอไป
รูปที่ 11.21 ตาราง ANOVA จาก Minitab
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
รูปที่ 11.22 กราฟตาง ๆ ของตัวอยางที่ 11.7 จาก Minitab
จากตาราง ANOVA จะสรุปไดเชนเดียวกับ การวิเคราะหดวยมือ และ Excel (ตัวเลขอาจแตกตางกันบางเล็กนอ ยจากการ
ปดเศษตาง ๆ) สําหรับกราฟในรูปที่ 11.22 จะมีประโยชนในการวิเคราะห Residual ซึ่งเมื่อคํานวณดวยสมการที่ 11.13
เชน กรณีสีชนิด 1 และวิธีการ Dipping ทดลองครั้งที่ 1 จะได e111 y111 y11. 4.0 4.267 0.267
e112 y112 y11. 4.5 4.267 0.233
ที่เหลือคํานวณในทํานองเดียวกัน ไดผลดังแสดงในตารางที่ 11.8
ตารางที่ 11.8 คา Residuals ของการทดลองจากตัวอยางที่ 11.7
ชนิดของสี, A
1
2
3
วิธีการเคลือบ, B
Dipping, ei1k
Spraying, ei2k
-0.267
0.233 0.033
0.100 -0.400
0.300 -0.400 0.100 -0.267
-0.033 -0.133 0.167
0.033
0.300
0.233
0.333 -0.167 -0.167
เมื่อนําคา Residuals ทั้งหมดทดสอบการความเปนปกติของการแจกแจงโดยใช Minitab โดยเลือกเมนู Stat – Basic
Statistics – Normality Test… จะไดผลดังรูปที่ 11.23 จากคา P-Value = 0.425 บงชี้วาไมสามารถปฏิเสธไดวา
Residuals มีการแจกแจงแบบปกติ ซึ่งจะเห็นไดวากราฟที่ไดเหมือนกับที่แสดงในรูปที่ 11.22 ดังนั้นกราฟอื่น ๆ จึง
พิจารณาไดจากรูปที่ 11.22 ซึ่งจาก Plot ระหวางคา Residuals กับคา Fitted และ Plot ระหวาง Residuals กับ
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
Observations order ไมปรากฏรูปแบบที่ผิดปกติแตอยางใด จึงสรุปไดวาพฤติกรรมของ Residuals เปนไปตาม
สมมติฐานทางสถิติ และผลการทดลองมีความนาเชื่อถือ
รูปที่ 11.23 Normality Test ของ Residuals จากการทดลองในตัวอยางที่ 11.7
11.5.3 การวิเคราะหผลการทดลองกรณี 2k แฟคทอเรี่ยล
สําหรับกรณีของ 2k แฟคทอเรี่ยล การวิเคราะหผลการทดลอง ซึ่งรวมถึงการคํานวณ Main Effects, Interaction
Effects และ คา SS ตาง ๆ ในตาราง ANOVA สามารถทําไดจากคา Contrast ดังตอไปนี้
การทดลองแบบ 22 แฟคทอเรี่ยล
รูปที่ 11.9 และสัญลักษณตัวอักษรภาษาอังกฤษที่ใช แทนการ Run โดยอักษรตัวพิมพใหญแทนปจจัย และ
อักษรตัวพิมพเล็กแทนการ Run ที่ high level ของปจจัย เชน a แทนการ Run ที่ A high level และ B low level ของกร
ทดลองที่มีปจจัยคือ A และ B, b แทนการ Run ที่ B high level และ A low level, ab แทนการ Run ที่ A และ B high level และ (1) แทนการ Run ที่ทั้ง A และ B low level การคํานวณ Effects ตาง ๆ ทําไดดังนี้
Main Effects:
A=
y A y A
a ab b ( 1 )
2n
2n
1
a ab b ( 1 )
2n
(11.14)
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
A=
y B y B
b ab a ( 1 )
2n
2n
1
b ab a ( 1 )
2n
Interaction Effect:
(11.15)
ab ( 1 ) a b
2n
2n
1
ab (1 ) a b
2n
AB =
(11.16)
พจนในเครื่องหมาย [ ] ในสมการที่ (11.14), (11.15) และ (11.16) คือ Contrast ดังนั้น จะได
ContrastA =
ContrastB =
ContrastAB =
a ab b ( 1 ) b ab a ( 1 ) ab ( 1 ) a b
จากสมการที่ (11.6) จะเห็นไดวา Interaction Effect คือผลตางของคาเฉลี่ยของ Responses ในแนวทะแยงมุมนั่นเอง
และ ในแตละ Run กําหนดใหทําการทดลองซ้ําจํานวน n ครั้ง คาเฉลี่ยจึงตองหารดวย 2n
สําหรับการกําหนด Contrast ดวยสมการของ Effects จะซับซอนมากขึ้นเมื่อจํานวนปจจัยเพิ่มมากขึ้น วิธีที่งายกวาคือ
กําหนดจากตารางเครื่องหมาย +,- ซึ่งเปนเมตตริกซของการทดลอง ดังแสดงในตารางที่ 11.8 ดานลาง
ตารางที่ 11.8 เครื่องหมายของอิทธิพลของการทดลองแบบ 22
Run
1
2
3
4
(1) a b ab I
+
+
+
+
Factorial Effects
A
B
+
+
+
+
AB
+
+
-
หรืออาจใชสัญลักษณ 1 และ -1 แทน + และ – ดังแสดงในตารางที่ 11.9 เพื่อ ความสะดวกในการอธิบายตอไป
ตารางที่ 11.9 เครื่องหมายของอิทธิพลของการทดลองแบบ 22
Run
1
2
3
4
(1) a b ab I
1
1
1
1
Factorial Effects
A
B
-1
-1
1
-1
-1
1
1
1
AB
1
-1
-1
1
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
ตําราบางเลมอาจเรียก ตารางที่ 11.8 และ 11.9 วา ตารางของคอนทราสต (Table of Contrasts) ของการทดลองแบบ 22
มีสัญลักษณ A, B และ AB แทน Effects, I แทน identity matrix ของการออกแบบ และ เครื่องหมาย + ซึ่งมีสัมประสิทธิ์
เปน 1 และ เครื่องหมาย – มีสัมประสิทธิ์เปน -1 แทนการ Run ที่ high และ low level ของปจจัยนั้น ๆ ตามลําดับ
Contrast ของแตละปจจัยหาไดจากผลรวมของการคูณสัญลักษณของการ Run ดวย สัมประสิทธของแตละปจจัยใน
ตารางที่ 11.9 ที่อยูในแถวเดียวกัน เชน
ContrastA = (-1)(1) + (1)a + (-1)b + (1)ab
= a + ab – b – (1)
เปนตน สําหรับ ContrastB และ ContrastAB ทําไดในทํานองเดียวกัน จากนั้นคาของผลรวมกําลังสองตาง ๆ ในตาราง
ANOVA สามารถคํานวณไดจากความสัมพันธในสมการที่ (11.17)
SS i
Contrast i 2 n Contrast i
Coefficient 2
(11.17)
ดังนั้นจะได คา SS ดังสมการที่ (11.18), (11.19) และ (11.20)
SS A
SS B
a ab b ( 1 )2
4n
b ab a (1 )2
SS AB
4n
ab ( 1 ) a b2
4n
(11.18)
(11.19)
(11.20)
ทั้งนี้เนื่องจาก การทดลองแบบ 22 จะมีผลรวมของสัมประสิทธิ์กําลังสองเทากับ 4 เสมอ ซึ่งเมื่อไดคา SS ตาง ๆ แลว ทํา
การคํานวณ SST และ SSE ดวยวิธปกติ ซึ่งทําใหสามารถวิเคราะหความแปรปรวนไดครบถวนตอไป
ี
ตัวแบบสมการเสนถดถอย (Regression Model)
เพื่อนําผลการวิเคราะหไปใชใหเกิดประโยชนยิ่งขึ้น การสราง Regression Model จะชวยใหสามารถประมาณได
วาหากมีการปรับเปลี่ยนระดับของปจจัยที่มีผลตอ Response ไป จะทําให Response เปลี่ยนไปอยางไร และมีคาเทาไร
โดย Regression Model ของกรณีการทดลองแบบ 22 มีดังแสดงในสมการที่ (11.21) y 0 1 x1 2 x2 12 x1 x 2
(11.21)
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
เมื่อปจจัย A และ B แทนดวย ตัวแปรรหัส (Coded Variable) x1 และ x2 ตามลําดับ Interaction Effect AB แทนดวยผล
คูณของ Coded Variable, x1x2 โดย Coded Variable นี้จะมีคาเพียง +1 หรือ -1 แทนการ Run ที่ high หรือ low level
ของแตละปจจัย สัมประสิทธิ์ 0 , 1 , 2 และ 12 เรียกวาสัมประสิทธิ์ของเสนถดถอย ซึงคํานวณไดจากความสัมพันธ
่
ดังตอไปนี้
0 y ...
Estimated Effect of Factor i
i
2
(11.22)
ซึ่งตัดแปรใน Regression Model อาจใชเฉพาะตัวแปรของปจจัยที่สงผลอยางมีนัยสําคัญเทานั้น อยางไรก็ตามการรวม
ปจจัยที่ไมสงผลอยางมีนัยสําคัญดวยก็ไมผิดอะไร เนื่อ งจากคา Estimated Effect ซึ่งหมายถึง Main Effects หรือ
Interaction Effect ของปจจัยที่ไมสงผลอยางมีนัยสําคัญจะมีคานอยจนไมสงผลตอความแตกตางของคาประมาณ y ใน
สมการที่ (11.21) อยางมีนัยสําคัญ ตัวอยางที่ 11.8 แสดงการประยุกตหลักการทั้งหมดที่กลาวมาในหัวขอนี้
ตัวอยางที่ 11.8 จากผลการทดลองในตัวอยางที่ 11.4 สามารถแสดงไดดังตารางที่ 11.10 จงวิเคราะหผลการทดลองนี้
และแสดงสมการ Regression ของแรงสั่นสะเทือนจากการควานรู ที่ = 0.05 (ปจจัยคือขนาดของดอกควาน (ปจจัย A)
2 ขนาดคือ 1/16 นิ้ว และ 1/8 นิ้ว และความเร็วรอบในการควาน (ปจจัย B) ซึ่งปรับได 2 ระดับ คือ 40 rpm และ 80 rpm)
ตารางที่ 11.10 ผลการทดลองจากตัวอยางที่ 11.4
Run
1
2
3
4
(1) a b ab Factors
A
B
-1
-1
1
-1
-1
1
1
1
1
18.2
27.2
15.9
41.0
Vibration
2
3
4
18.9 12.9 14.4
24.0 22.4 22.5
14.5 15.1 14.2
43.9 36.3 39.9
Grand Mean =
Total
64.4
96.1
59.7
161.1
23.83
จากขอมูลการทดลองในตารางที่ 11.10 จะไดคา (1), a, b และ ab เทากับ 64.4, 96.1, 59.7 และ 161.1 ตามลําดับ
คาเฉลี่ยรวม y ... = 23.83 จากสมการที่ (11.14) – (11.20) จะไดคา Effect และ SS ตาง ๆ ดังนี้
Main Effects และ Interaction Effect, จากสมการที่ (11.14), (11.15) และ (11.16):
1
a ab b ( 1 )
2n
1
96.1 161.1 59.7 64.4
2(4)
133.1
; Contast A 133.1
8
16.638
A
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
1
b ab a ( 1 )
2n
1
59.7 161.1 96.1 64.4
2(4)
60.3
; Contast B 60.3
8
7.538
B
1
ab ( 1 ) a b )
2n
1
161.1 64.4 96.1 59.7
2(4)
69.7
; Contast AB 69.7
8
8.713
AB
Sum of Square, จากสมการที่ (11.17) หรือ (11.18), (11.19) และ (11.20):
SS A
( Contrast A ) 2
( 4 )( 4 )
(133.1)2
16
1107.226
SS B
( Contrast B ) 2
( 4 )( 4 )
(60.3)2
16
227.256
SS AB
( Contrast AB )2
( 4 )( 4 )
(69.7)2
16
303.631
เมื่อคํานวณโดยใชตาราง Excel จะสะดวกมากขึ้น ไดผลลัพธดังแสดงในตารางที่ 11.11
ตารางที่ 11.11 คา Contrast, Effect และ SS
Factor
A
B
AB
=
=
=
Contrast
133.1
60.3
69.7
Effect
16.638
7.538
8.713
SS
1107.226
227.256
303.631
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
จากนั้นคํานวณคา SST จาก a SST
b
2
n
yijk y... i 1 j 1 k 1
(18.2 - 23.83)2 (18.9 - 23.83)2 ... (39.9 - 23.83)2
1709.834
และ SSE โดยใชสมการที่ (11.12) จะได;
SS E SS T SS A SS B SS AB
1709.834 1107.226 227.256 303.631
71.722
ดังนั้นจะไดผลการวิเคราะหความแปรปรวนดังแสดงในตารางที่ 11.12
ตารางที่ 11.12 ตาราง ANOVA สําหรับตัวอยางที่ 11.8
Source of Variation Sum of Squares Degree of Freedom
ขนาดดอกควาน, A
ความเร็วรอบ,B
AB
Error
Total
1107.226
227.256
303.631
71.722
1709.834
1
1
1
12
15
Mean Square
1107.226
227.256
303.631
5.977
F0
F,1,2 Result
185.253 4.75
Sig.
38.023
4.75
Sig.
50.801
4.75
Sig.
ตาราง ANOVA บงชี้วาขนาดดอกควาน (A) ความเร็วรอบ (B) และ Interaction AB มีผลตอแรงสั่นสะเทือนอยางมี
นัยสําคัญที่ระดับ = 0.05 ซึ่งสอดคลองกับขนาดของ Main Effects ทั้ง A และ Bและ Interaction Effect ซึ่งมีคาสูง
เชน Effect A เทากับ16.64 เปนการบงชี้วาการเปลี่ยนระดับของปจจัย A (เปลี่ยนขนาดดอกควานระหวาง
1"
16
กับ
1"
8
)
จะทําใหระดับแรงสั่นสะเทือนเฉลี่ยเปลี่ยนไป 16.64 หนวย (เพิ่มขึ้นเมื่อเปลี่ยนจากเล็กไปใหญ และลดลงเมื่อเปลี่ยนจาก
ใหญมาเล็ก) สําหรับ Effect B และ Interaction Effect AB อธิบายไดในทํานองเดียวกัน นอกจากนีกราฟในรูปที่ 11.24
้
แสดง Effects ของปจจัยตอคาแรงสั่นสะเทือน บงชี้วา Interaction Effect มีผลอยางมีนัยสําคัญเนื่องจาก เสนกราฟไม
ขนานกันอยางเห็นไดชัด ผลการวิเคราะหดวย Minitab แสดงในตารางที่ 11.13 ประกอบดวย 2 สวนคือ สวนที่ 1 ตาราง
ANOVA ปกติ (สวนบน) ซึ่งสอดคลองกับตารางที่ 11.12 สวนที่ 2 เปนผลการวิเคราะหของ Factorial Analysis
ประกอบดวย ตาราง Factorial Fit และ ตาราง Analysis of Variance โดยในสวนของตาราง Factorial Fit จะแสดงคา
Effects และคาสัมประสิทธิ์ของ Regression Model ซึ่งสามารถคํานวณไดจากสมการที่ (11.22) ดวย ในขณะที่ตาราง
Analysis of Variance จาก Factorial Analysis จะรวมผลของ Main Effects ไวดวยกัน
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
Interaction Plot (data means) for Vibration
A (inch)
1/16
1/8
40
35
Mean
30
25
20
15
40
80
B (rpm)
รูปที่ 11.24 กราฟ Effects ของปจจัยตอคาแรงสั่นสะเทือน
ตารางที่ 11.13 ผลการวิเคราะหจาก Minitab ของการทดลองในตัวอยางที่ 11.4
Two-way ANOVA: Vibration versus A (inch), B (rpm)
Source
A (inch)
B (rpm)
Interaction
Error
Total
S = 2.445
—————
DF
1
1
1
12
15
SS
1107.23
227.26
303.63
71.72
1709.83
MS
1107.23
227.26
303.63
5.98
R-Sq = 95.81%
F
185.25
38.02
50.80
P
0.000
0.000
0.000
R-Sq(adj) = 94.76%
29/5/2008 11:32:44
————————————————————
Factorial Fit: Vibration versus A (inch), B (rpm)
Estimated Effects and Coefficients for Vibration (coded units)
Term
Effect
Coef SE Coef
T
P
Constant
23.831
0.6112 38.99 0.000
A (inch)
16.638
8.319
0.6112 13.61 0.000
B (rpm)
7.537
3.769
0.6112
6.17 0.000
A (inch)*B (rpm)
8.713
4.356
0.6112
7.13 0.000
S = 2.44476
R-Sq = 95.81%
R-Sq(adj) = 94.76%
Analysis of Variance for Vibration (coded units)
Source
DF
Seq SS
Adj SS
Adj MS
Main Effects
2 1334.48 1334.48 667.241
2-Way Interactions
1
303.63
303.63 303.631
Residual Error
12
71.72
71.72
5.977
Pure Error
12
71.72
71.72
5.977
Total
15 1709.83
F
111.64
50.80
P
0.000
0.000
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
จากสมการที่ (11.22) จะไดคา
0 , 1 , 2 และ 12
ดังนี้
0 Grand Mean 23.831
Estimated Effect A 16.638
1
8.319
2
2
Estimated Effect B 7.537
2
3.769
2
2
Estimated Effect AB 8.713
12
4.356
2
2
ซึ่งสอดคลองกับคอลัมน coef ในตาราง Factorial Fit จาก Minitab และจะได สมการ Regression คือ
ˆ 23.831 8.319( x1 ) 3.769( x2 ) 4.356( x1 x2 ) y เมื่อ xi, xj เปน Coded Variables มีคาเทากับ -1 และ +1เมื่อ Run ที่ระดับ Low Level และ High Level ของปจจัย,
ตามลําดับ
จากนั้นความคลาดเคลื่อนของการทดลองหรือ Residuals จะประมาณจากสมการที่ (11.13) เมื่อ ˆ ijk ประมาณจากสมการ y Regression ซึ่งแทนคาเฉลียของ Run นั้น ๆ เชน การ Run ที่ Low Level ของปจจัย A และ B จะได;
่
ˆ 23.831 8.319( 1) 3.769( 1) 4.356( 1)( 1) y 16.1
y11.
ดังนั้นคา Residuals ที่จากการ Run นี้จะคํานวณไดดังนี้ e111= 18.2 – 16.1 = 2.1, e112= 18.9 – 16.1 = 2.8, e113= 12.9 – 16.1 = -3.2, e112= 14.4 – 16.1 = -1.7
คา Residual ที่เหลือคํานวณในทํานองเดียวกันดังแสดงในตารางที่ 11.14 จากนั้นตองทําการวิเคราะหวา Residual มี
พฤติกรรมตามสมมติฐานทางสถิติหรือไม ดวยการ plot กราฟ ดังแสดงในรูปที่ 11.25
ตารางที่ 11.14 คา Residuals ของการทดลองในตัวอยางที่ 11.4
Run
1
2
3
4
(1) a b ab Factors
A
B
-1
-1
1
-1
-1
1
1
1
ˆ y 16.1
24.025
14.925
40.275
1
2.1
3.2
1.0
0.7
Residual
2
3
2.8 -3.2
0.0 -1.6
-0.4 0.2
3.6 -4.0
4
-1.7
-1.5
-0.7
-0.4
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
Residual Plots for Vibration
Normal Probability Plot of the Residuals
Residuals Versus the Fitted Values
2
Residual
4
90
Percent
99
50
10
0
-2
-4
1
-5.0
-2.5
0.0
Residual
2.5
5.0
20
Histogram of the Residuals
40
Residuals Versus the Order of the Data
4
3
2
Residual
4
Frequency
30
Fitted Value
2
1
0
-2
-4
0
-4
-2
0
Residual
2
4
1
2
3
4
5
6
7
8
9 10 11 12 13 14 15 16
Observation Order
รูปที่ 11.25 กราฟเพื่อการวิเคราะหคา Residuals ของการทดลองในตัวอยางที่ 11.4
จากรูปที่ 11.25 ไมมีสัญญานความผิดปกติที่รุนแรงแตอยางใด ถึงแมกราฟระหวาง Residuals กับคา Observation
Order จะมี Pattern ของ Autocorrelation อยู แตเนื่องจากการเก็บขอมูลในที่นี้ไมไดใชเวลาหางกันมากนักจึงไม
จําเปนตองใหความสําคัญกับสมมติฐานดาน Autocorrelation
ในทางปฏิบัติเมื่อทราบวาทั้ง Main Effect A, B และ Interaction Effect มีผลตอแรงสั่นสะเทือน วิศวกรจะตองกําหนด
ระดับของปจจัยใหเหมาะสมกับการผลิต คือทําใหเกิดแรงสั่นสะเทือนนอยที่สุด ในขณะที่ไมทําใหอัตราการผลิตลดลง จาก
รูปที่ 11.24 จะเห็นวาควรกําหนดใหใชดอกควานขนาดเล็ก และความเร็วรอบ 80 rpm การวิเคราะหอยางละเอียดยัง
สามารถทําได เชนการวิเคราะหผิวตอบ (Surface Response) เนื่องจากในการทดลองแบบ 22 แฟคทอเรี่ยลเปนเพียง
การศึกษาเฉพาะที่มุมของระนาบสี่เหลี่ยม (รูปที่ 11.10) เทานั้น ในระดับอื่น ๆ ของแตละปจจัยยังมิไดพิจารณา การทํา
Surface Response จะชวยใหไดขอมูลเชิงลึกมากขึ้น หรืออาจทํานายผลของแรงสั่นสะเทือนที่ระดับ Combination อื่น ๆ
(เชน A =
1"
8
และ B = 60 rpm เปนตน) ของปจจัย A และ B ไดจากสมการ Regression โดยการแปลง Coded
Variables ใหเปน Actual Variables อยางไรก็ตามในที่นี้จะไมกลาวถึงรายละเอียดของ 2 วิธีดังกลาวนี้ (ผูอานสามารถ
ศึกษาเพิ่มเติมไดจากหนังสือเฉพาะดานการออกแบบการทดลองทั่วไป)
การทดลองแบบ 2k แฟคทอเรี่ยล เมื่อ k ≥ 3
การวิเคราะหสําหรับกรณี 2k แฟคทอเรี่ยลสามารถนําแนวทางการวิเคราะหสําหรับกรณี 22 แฟคทอเรี่ยล มาประยุกต
ซึ่งจะทําใหสามารถเขาใจไดงายยิ่งขึ้น ตัวอยางเชนกรณี k = 3 ซึ่งจะมี 8 Combinations หรือ 8 Runs และรูปแบบการ
ทดลองแสดงไดดวยรูปทรงลูกบาศก ดังแสดงในรูปที่ 11.12 ตัวแบบสมการเสนถดถอยสําหรับ กรณีนี้มีดังสมการที่
(11.23)
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
y A B C AB AC BC ABC
โดยมี แทนคาเฉลี่ยรวม (Grand Mean) หรือ
y ....
(11.23)
สัญลักษณ A, B และ C แทน Main Effects, AB, AC และ BC แทน
2-factor Interaction Effects และ ABC แทน 3-factor Interaction Effect, แทนความคลาดเคลื่อนแบบสุมของการ
ทดลองซึ่งตองมีคุณสมบัติ NID(0, 2) เชนเดียวกับกรณีกอนหนาซึ่งไดกลาวไวแลว โดยสมการที่ (11.23) นี้อาจใช
สัญลักษณกรีกแทนไดเชนเดียวกับสมการที่ (11.21) ไดดังสมการที่ (11.24) y 0 1 x1 2 x 2 3 x3 12 x1 x2 13 x1 x3 23 x2 x3 123 x1 x2 x3
(11.24)
ซึ่งจะเปนไดวาการเขียนจะยุงยากกวาสมการที่ (11.23) และความยุงยากนี้จะยิ่งเพิ่มขึ้นอีกเมื่อจํานวนตัวแปรเพิ่มขึ้น ใน
ที่นี้จึงจะใชสมการ Regression ดังแสดงในสมการที่ (11.23)
การคํานวณคา Effects และ SS ของกรณี 2k เมื่อ k ≥ 3 ทําไดโดยใชสมการที่ (11.25) และ (11.26) ตามลําดับ
Effecti
และ
SSi
Contrast i n 2 k 1
( Contrasti ) 2 n2 k
(11.25)
(11.26)
หรือ Effecti สามารถหาไดจากการพิจารณารูปทรงเลขาคณิตของการออกแบบ ซึ่ง Contrasti ซึ่งคือพจนในเครื่องหมาย [ ]
(กรณี k = 3, กรณี) ตัวอยางการพิจารณารูปทรงเลขาคณิตของการออกแบบ จะแสดงการวิเคราะหที่มาของ EffectA และ
EffectAB ดังสมการที่ (11.27) และ สมการที่ (11.28) ตามลําดับ โดยจะแสดงรูป 11.12 เพื่อ ความสะดวกอีกครั้งดังรูปที่
11.26
EffectA คือผลตางของคาเฉลี่ยของ Responses ระหวางปจจัย A High Level และ Low Level ดังนั้นจากรูปที่ 11.26 จึง
เปนผลตางระหวางคาเฉลียของ Responses แตละมุมของระนาบแนวดิ่งดานขางขวามือ กับดานขางซายมือ ดังนั้นจะได
่
EffectA ดังนี้
Effect A y A y A a ab ac abc b c bc ( 1 )
4n
4n
1
a ab ac abc b c bc ( 1 )
4n
(11.27)
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
สําหรับ EffectB และ EffectC วิเคราะหไดในลักษณะเดียวกัน
ผนังของระนาบดานขางซายมือแทนการ
Runs ที่ระดับ Low ของ ปจจจัย A
ผนังของระนาบดานขางขวามือแทนการ
Runs ที่ระดับ High ของ ปจจจัย
A
รูปที่ 11.26 รูปแบบการทดลองแบบ 23 Factorial Design
bc
-
bc
ac
b
(1)
-
+
a
Factor A
+-
+
Factor B
ab
-
abc ac c
Factor C
c
Factor C
+
abc
b
(1)
-
a
Factor A
+-
+
Factor B
ab
รูปที่ 11.27 รูปแบบการทดลองแบบ 23 Factorial Design
Interaction EffectAB เปนผลตางระหวางคาเฉลี่ยของ Responses ที่จุดมุมระหวางระนาบในรูป ก และ ข ของรูปที่ 11.27
ซึ่งจะได
ab c abc ( 1 ) a b ac bc
4n
40
1
ab c abc ( 1 ) a b ac bc
4n
Effect AB
(11.28)
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
สําหรับ Interaction อื่น ๆ พิจารณาไดในลักษณะเดียวกัน ซึ่งจะสรุป Effects ทั้งหมดของการทดลองแบบ 23 ไดดังนี้
1
a ab ac abc b c bc ( 1 )
4n
1
Effect B
b ab bc abc a c ac ( 1 )
4n
1
EffectC
c ac bc abc a b ab ( 1 )
4n
1
Effect AB
ab c abc ( 1 ) a b ac bc
4n
1
Effect AC
ac b abc ( 1 ) a c ab bc
4n
1
Effect BC
bc a abc ( 1 ) b c ab ac
4n
1
Effect ABC
a b c abc ab ac bc
4n
Effect A
ในกรณี k > 3 รูปทรงจะซับซอนเกินไปจึงสะดวกกวาที่จะใชสมการที่ (11.25) ในการหาคา Effecti ซึ่งจะตองทราบคา
Contrast ของปจจัยนั้น ๆ กอน อยางไรก็ตาม Contrasti จะไดจากผลรวมของการคูณสัญลักษณของการ Run ดวย
สัมประสิทธของแตละปจจัย จากตารางเครื่อง +/- ของการทดลอง ดังแสดงในตารางที่ 11.15 หรือ 11.16 ตัวอยางเชนการ
วิเคราะห Contrast ของ 3-factor Interaction ABC ดังตอไปนี้
ContrastABC = (-1)(1) + (1)(a) + (1)(b) + (-1)(ab) + (1)(c) + (-1)(ac) + (-1)(bc) + (1)(abc)
= a + b + c + abc – ab – ac – bc – (1)
ซึ่งมีผลลัพธเหมือนกับ Contrast ในเครื่องหมาย [ ] ของ EffectABC
ตารางที่ 11.15 เครื่องหมายของอิทธิพลของการทดลองแบบ 23
Run
1
2
3
4
5
6
7
8
(1) a b ab c ac bc abc I
+
+
+
+
+
+
+
+
A
+
+
+
+
B
+
+
+
+
Factorial Effects
AB
C
+
+
+
+
+
+
+
+
AC
+
+
+
+
BC
+
+
+
+
ABC
+
+
+
+
หรือเพื่อ ความสะดวกในการวิเคราะห Contrast จะแสดงไดดังตารางที่ 11.16
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
ตารางที่ 11.16เครื่องหมายของอิทธิพลของการทดลองแบบ 23
Run
1
2
3
4
5
6
7
8
(1) a b ab c ac bc abc A
-1
1
-1
1
-1
1
-1
1
I
1
1
1
1
1
1
1
1
B
-1
-1
1
1
-1
-1
1
1
Factorial Effects
AB
C
1
-1
-1
-1
-1
-1
1
-1
1
1
-1
1
-1
1
1
1
AC
1
-1
1
-1
-1
1
-1
1
BC
1
1
-1
-1
-1
-1
1
1
ABC
-1
1
1
-1
1
-1
-1
1
ตัวอยางที่ 11.9 จากผลการทดลองเพื่อศึกษาปจจัยที่สงผลตอความเรียบผิวของชิ้นโลหะในตัวอยางที่ 11.5 ซึ่งมีปจจัย A,
B และ C คือ อัตราปอน (Feed rate) ขนาดกินลึก (Depth of Cut) และ มุมของมีดตัด (Tool angle) วิศวกรทําการทดลอง
โดยมีจํานวน Replicate = 2 มีผลการทดลองดังแสดงในตารางที่ 11.4 ซึ่งสามารถแสดงในรูปแบบของ 23 แฟคทอเรี่ยลได
ดังตารางที่ 11.17 ดานลาง จงวิเคราะหผลการทดลองนี้ และแสดงสมการ Regression ของความเรียบผิว ที่ = 0.10
ตารางที่ 11.17 ผลการทดลองจากตัวอยางที่ 11.5
Run
1
2
3
4
5
6
7
8
(1) a b ab c ac bc abc A
-1
1
-1
1
-1
1
-1
1
Factors
B
-1
-1
1
1
-1
-1
1
1
Vibration
C
1
2
-1
9
7
-1
10
12
-1
9
11
-1
12
15
1
11
10
1
10
13
1
10
8
1
16
14
Grand Mean =
Total
16
22
20
27
21
23
18
30
11.0625
จากผลการทดลองในตารางที่ 11.17, Effects และ SS สามารถคํานวณโดยใชสมการความสัมพันธดังไดกลาวแลวกอน
หนา เชนกรณีของ ปจจัย A จะได
1
a ab ac abc b c bc (1)
4n
1
22 27 23 30 20 21 18 16
4(2)
27.000
; Contrast A 27.000
8
3.375
Effect A
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
และ
(Contrasti ) 2 n2k ( 27.000) 2
(2)(2) 3
45.563
SS A
สําหรับปจจัยอื่น ๆ สามารถคํานวณไดในลักษณะเดียวกันซึ่งจะไดคา Contrasti, Effecti และ SSi ทั้งหมดดังแสดงใน
ตารางที่ 11.18
ตารางที่ 11.18 คา Contrasti, Effecti และ SSi จากการทดลองในตัวอยางที่ 11.5
Factor
A
B
AB
C
AC
BC
ABC
Error
Total
Effecti
3.375
1.625
1.375
0.875
0.125
-0.625
1.125
Contrasti
27.000
13.000
11.000
7.000
1.000
-5.000
9.000
SSi
45.563
10.563
7.563
3.063
0.063
1.563
5.063
19.500
92.938
โดยคา SST และ SSE คํานวณดวยวิธีปกติ ซึ่งจากผลการวิเคราะหทําใหสามารถสรางตาราง ANOVA ที่สมบูรณไดดัง
แสดงในตารางที่ 11.19 และมีผลการวิเคราะหจาก Minitab ดังแสดงในตารางที่ 11.20
ตารางที่ 11.19 ตาราง ANOVA สําหรับตัวอยางที่ 11.9
Source of Variation Sum of Squares Degree of Freedom
Feed Rate, A
Depth of Cut,B
AB
Tool Angle, C
AC
BC
ABC
Error
Total
45.563
10.563
7.563
3.063
0.063
1.563
5.063
19.500
92.938
1
1
1
1
1
1
1
8
15
Mean Square
F0
1
18.7
1
4.33
1
3.10
1
1.26
1
0.03
1
0.64
1
2.08
F0.10,1,2
3.46
3.46
3.46
3.46
3.46
3.46
3.46
Result
Sig.
Sig.
Not Sig.
Not Sig.
Not Sig.
Not Sig.
Not Sig.
8
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
ตารางที่ 11.20 ผลการวิเคราะหจาก Minitab สําหรับตัวอยางที่ 11.9
Factorial Fit: Surface Finish versus Feed Rate, A, Depth of Cut, B, ...
Estimated Effects and Coefficients for Surface Finish (coded units)
Term
Constant
Feed Rate, A
Depth of Cut, B
Tool Angle, C
Feed Rate, A*Depth of Cut, B
Feed Rate, A*Tool Angle, C
Depth of Cut, B*Tool Angle, C
Feed Rate, A*Depth of Cut, B*
Tool Angle, C
S = 1.56125
R-Sq = 79.02%
Effect
3.3750
1.6250
0.8750
1.3750
0.1250
-0.6250
1.1250
Coef
11.0625
1.6875
0.8125
0.4375
0.6875
0.0625
-0.3125
0.5625
SE Coef
0.3903
0.3903
0.3903
0.3903
0.3903
0.3903
0.3903
0.3903
T
28.34
4.32
2.08
1.12
1.76
0.16
-0.80
1.44
P
0.000
0.003
0.071
0.295
0.116
0.877
0.446
0.188
R-Sq(adj) = 60.66%
Analysis of Variance for Surface Finish (coded units)
Source
Main Effects
2-Way Interactions
3-Way Interactions
Residual Error
Pure Error
Total
DF
3
3
1
8
8
15
Seq SS
59.1875
9.1875
5.0625
19.5000
19.5000
92.9375
Adj SS
59.1875
9.1875
5.0625
19.5000
19.5000
Adj MS
19.729
3.063
5.063
2.438
2.438
F
8.09
1.26
2.08
P
0.008
0.352
0.188
ขอสังเกตขอมูลในตารางที่ 11.20 จะมีคา parameter t (ในตารางใชสัญลักษณ T) และคา P- values สําหรับการทดสอบ
สมมติฐานวาคาสัมประสิทธิ์ ตาง ๆ ของสมการ Regression มีคาเทากับ 0 หรือไม เนื่องจากถาคา มีคาเทากับ 0 จะ
เปนการบงชี้วาปจจัยของสัปประสิทธิ์นั้น ๆ ไมมีผลตอ Response อยางมีนัยสําคัญ เชน คา P- Values ของ B และ C ซึ่ง
เทากับ 0.071 และ 0.295 ตามลําดับเปนการบงชี้วา ปจจัย B สงผลตอ Response อยางมีนัยสําคัญ = 0.10
ในขณะที่ปจจัย C ไมสงผล ที่ระดับ เดียวกัน เปนตน
จากตารางที่ 11.19 จะเห็นวาที่ระดับ = 0.10 มีเพียงปจจัย A (Feed Rate) และ B (Depth of Cut) เทานั้นที่สงผลตอ
ความเรียบผิวของชิ้นงานอยางมีนัยสําคัญ ในขณะที่ Interaction Effect AB มีคา F0 = 3.10 ซึ่งต่ํากวาคา F0.10,1,8 = 3.46
เพียงเล็กนอยจึงเปนไปไดที่จะรวมผลของ Interaction Effect AB ไวใน สมการ Regression ดวย (ตามทฤษีการวิเคราะห
เราสามารถตัด Interaction Effect AB ออกไดเลย แตสําหรับตัวอยางนี้จะรวมเอาไวดวย) จึงไดสมการที่ประกอบดวย
Main EffectA (แทนดวย x1), Main EffectB (แทนดวย x2) และ Interaction EffectAB ดังนี้ y 0 1 x1 2 x2 12 x1 x2 3
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
ซึ่งเมื่อนําคา Coefficients จากตารางที่ 11.20 มาแทนคาคงที่ 0 , 1 และ 12 จะได y 11.0625 1.6875( x1 ) 0.8125( x2 ) 0.6875( x1 )( x2 )
โดยคา x1 และ x2 เปน Coded Variable ที่มีคาเทากับ -1 หรือ 1 แทนระดับ Low หรือ High ของแตละปจจัย ดังนั้น
สมการนี้จึงสามารถทํานาย Responses ที่จุดมุมของรูปแบบการทดลองไดเชน กรณีทําการ Run ที่ระดับ x1 และ x2 = -1
จะได
ˆ y 11.0625 1.6875(1) 0.8125(1) 0.6875(1)(1)
9.25
ˆ
ตารางที่ 11.21 คา y และคา Residuals ของการทดลอง ในตัวอยางที่ 11.5
Run
1
2
3
4
5
6
7
8
(1) a b ab c ac bc abc A
-1
1
-1
1
-1
1
-1
1
Factor
B
-1
-1
1
1
-1
-1
1
1
Vibration
C
1
2
-1
9
7
-1
10
12
-1
9
11
-1
12
15
1
11
10
1
10
13
1
10
8
1
16
14
Grand Mean =
Total
16
22
20
27
21
23
18
30
11.0625
ˆ y 9.250
11.250
9.500
14.250
9.250
11.250
9.500
14.250
Residual, eijk k=1 k=2
-0.25 -2.25
-1.25 0.75
-0.50 1.50
-2.25 0.75
1.75 0.75
-1.25 1.75
0.50 -1.50
1.75 -0.25
ˆ y โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา
บทที่ 11: การออกแบบการทดลองเบืองตน
้
จากนั้นทําการวิเคราะหคา Residuals เพื่อตรวจสอบวาขอมูลที่ไดจากการทดลองมีพฤติกรรมตามสมมุติฐานทางสถิติ
หรือไม ไดผลดังแสดงในรูปที่ 11.28 ซึ่งสรุปไดวาคา Residuals มิไดมีการแจกแจงเบี่ยงเบนไปจากการแจกแจงแบบปกติ
แตอยางไร และไมมีรูปแบบของความผันแปรที่จะกอใหเกิดปญหาเมื่อนําผลการทดลอง และสมการ Regression ไปใช
เพื่อการกําหนดแนวทางการปรับปรุงกระบวนการแตอยางไร
Residual Plots for Surface Finish
Normal Probability Plot of t he Residuals
Residuals Versus the Fitted Values
99
1
Residual
Percent
90
50
10
0
-1
1
-2
-1
0
Residual
1
2
8
Histogram of the Residuals
10
12
Fitted Value
14
16
Residuals Versus the Order of t he Data
4.8
Residual
Frequency
1
3.6
2.4
1.2
0
-1
0.0
-1.5
-1.0
-0.5
0.0
0.5
Residual
1.0
1.5
1
2
3
4
5
6
7
8
9 10 11 12 13 14 15 16
Observation Order
รูปที่ 11.18 กราฟการวิเคราะหคา Residuals สําหรับการทดลองในตัวอยางที่ 11.5
การวิเคราะหกรณี k > 3
การวิเคราะหตาง ๆ ทําไดในลักษณะเดียวกันกับที่ไดกลาวมาแลว เพียงแตการทดลองที่มีจํานวน
ปจจัยมาก ๆ จะตองเสียเวลาและคาใชจายมากขึ้น
โดย…บรรหาญ ลิลา ภาควิชาวิศวกรรมอุตสหการ คณะวิศวกรรมศาสตร ม. บูรพา