Free Essay

Compaq

In:

Submitted By akie
Words 1663
Pages 7
เสนทางสู Blue Ocean ตอนที่ 1
บทความโดย บุริม โอทกานนท ชาน คิม และเรเน โมบอรค ไดระบุไวในหนังสือของพวกเขาโดยบอกไววา หากเราตองการที่จะหลุดพนออกจากนานน้ําสีแดงนั้น เราตองพยายาม เปลี่ยนแนวคิดจากรูปแบของการดําเนินธุรกิจแบบเดิมๆ โดยการสราง ขอบเขตการดําเนินธุรกิจขึ้นมาเสียใหม พิจารณาไดจากมุมมองใหมเพื่อ คนหาโอกาส และใชโอกาสที่มองเห็นนั้นในการเปลี่ยนวิธการดําเนินธุรกิจ ี และพนจากการดําเนินงานรูปแบบเดิมๆ และมักเปนประเพณีปฏิบติของธุรกิจ ั ในการขายสินคาและบริการ อยางไรก็ตามผูที่เคยทําอะไรแบบเดิมอาจจะมองวิธีการคิดในรูปแบบของ บลูโอเชียนวาเปนเรื่องที่ทําไมได หรือไรสาระ เพราะหลงติดอยูในเรดโอเชียน และคิดวาสิ่งที่เปนวิธีการ ใหมๆ ที่จะทําใหเกิดนั้นเปนเรื่องที่เกิดขึ้นไดยากหรือหากจะลงมือทําก็ตองเสียเงิน เสียเวลา ที่จะ ดําเนินการรูปแบบวิธีคิดใหมๆ นั้นเกิดขึ้นโดยเปลาประโยชน แตหากมองกันลึกๆ แลว และถาเปดใจยอมรับความคิดและวิธีการใหมๆ เราก็จะสามารถมองเห็นนานน้ําสี ครามที่ถูกบดบังอยูในนานน้ําสีเลือดได ผมขอยกตัวอยางซักตัวอยางหนึ่งในการทําธุรกิจที่ตดอยูในวังวน ิ ของเรดโอเชียน เชนหากเราเขาไปพักโรงแรมระดับ 3 ดาว ซักแหงหนึ่ง ธุรกิจโรงแรมชั้น 3 โดยโรงแรม นี้มีวิธีดําเนินการบริหารโรงแรมแบบเดิมๆ ดังนั้นมีรายไดหลักก็คือการขายและบริการ หองพัก อาหาร มินิ บาร หองประชุม (ถาบางแหงมี) สิ่งเหลานี้เปนบริการหลักๆ ที่โรงแรมระดับ 3 ดาวในนานน้ําสีเลือดจะ สามารถจัดหาใหลูกคาได แตคิม และโมบอรค แนะนําใหทานสามารถมองใหไกลและคนหาใหมากกวา นั้น โดยพวกเขาคนพบวาการจะพบเจอะเจอธุรกิจในแบบบลูโอเชียนนั้น มีเสนทางพื้นฐานสูนานน้ําสี ครามอยู 6 ประการ ซึ่งหากนําเสนทางพื้นฐานทั้ง 6 ประการมาประยุตใช ทานก็อาจจะทําใหสามารถ แหวกวาผานนานน้ําสีเลือดไปสูนานน้ําสีครามดังที่คิม และ โมบอรคกลาวไวไดและทานยังสามารถ กําหนดขอบเขตการทําธุรกิจของทานขึ้นมาใหม ซึ่งเสนทางพื้นฐาน 6 เสนทางสามารถอธิบายไดดังนี้ครับ เสนทางที่ 1 มองขามไปยังอุตสาหกรรมอื่นๆ (Look across alternative industries) ในมุมมองนี้คม และ โมบอรก แนะนําวาอยาแคหยุดมองวิธีการทําธุรกิจที่อุตสาหกรรมของเราทําเทานั้น ิ แตหากเราสามารถมองไดในแงมุมที่กวางขึ้นอีกคือมองขามอุตสาหกรรมออกไปยังอุตสาหกรรมอื่นที่มี สินคาที่ตอบสนองลูกคาคลายกับเรา เราก็อาจจะวาสินคาหรือบริการที่อุตสาหกรรมอื่นกําลังขายอยูนั้น เปนสินคาแบบเดียวกันกับที่เราขายอยู ฟงดูแลวอาจจะยากซักหนอยที่จะเขาใจนะครับแตหาเขียนเปนภาพเราก็อาจะเห็นจุดเริ่มตนและ ประโยชนหลักของสินคาและบริการในธุรกิจทั้งสองชนิดไดในงมุมที่เหมือนกันดังภาพที่แสดงตอไปนี้เรา จะสรางมุมมองแบบถอยกลับ (Reversal view) เปรียบเทียบกันระหวางธุรกิจโรงแรมกับธุรกิจเครื่องเสียง และเครื่องใชไฟฟาครับ ธุรกิจโรงแรม ธุรกิจ สินคาและบริการ หองพัก อาหาร บริการ ประโยชนหลัก การพักผอน เจรจาธุรกิจ ความบันเทิง

โรงแรม

Copyright 2009 College of Management, Mahidol University. All rights reserved. August 2009. 1 | Page

ธุรกิจเครื่องเสียงและเครื่องใชไฟฟา ธุรกิจ สินคาและบริการ เครื่องใชไฟฟา เครื่องเสียง บริการ ประโยชนหลัก

เครื่องเสียง เครื่องใชไฟฟา

ความบันเทิง การพักผอน

ถาเรามองกลับไปที่ประโยชนหลักของธุรกิจทั้งสองชนิดเราจะพบวาประโยชนหลักของทั้งธุรกิจโรงแรม และธุรกิจเสียงและเครื่องใชไฟฟานั้นมีประโยชนหลักรวมกันอยูสองประการคือ เพื่อการพักผอนและเพื่อ ความบันเทิง หรือหากเรามองในมุมมองของนานน้ําสีครามในดานประโยชนหลัก เราก็จะพบวาธุรกิจทั้ง สองประเภทนี้คือธุรกิจที่มีบางสวนที่เปนทางเลือกใหกันและกันไดคือ ‘การพักผอน’ และ ‘ความบันเทิง’ ประโยชนหลักเหลานี้อาจจะไมใชสิ่งที่ทดแทนกันไดอยางสมบูรณ แตเปนทางเลือกที่ผูบริโภคสามารถ นํามาพิจารณาเลือกใชได หรือพูดงายวาหากเราตองการพักผอนเราก็อาจจะไปเชาหองพักที่โรงแรมเพื่อ นอนพัก หรืออาจจะเลือกที่จะไปซื้อสินคาเครื่องเสียงหรือเครื่องใชไฟฟาอยาง ทีวี กลองถายรูป วิทยุ มา ฟงเพื่อใชเพื่อความบันเทิง พักผอน หรือผอนคลาย การดําเนินการที่เปนรูปธรรมที่จะทําใหเราเห็นไดชัดขึนก็คือคําถามที่เกิดขึ้นวา ทําไมโรงแรม 3 ดาวที่ผม ้ กลาวมาในขางตนจะตองใหบริการแตหองพัก อาหาร หรือฟตเนส แตทําไมไมลองคิดถึงการนําเอาแคตา ลอกเครื่องเสียงหรือเครื่องใชไฟฟามาวางไวใหนักทองเที่ยวหรือนักธุรกิจที่เขาพักในโรงแรมไดเลือกซื้อ หากโรงแรมสามารถหาแหลงซื้อสินคาในตนทุนที่ไมสูงเกินไป ยกตัวอยางนักทองเที่ยวที่ซื้อทัวรมาเที่ยว เมืองไทย เครื่องไฟฟาที่พวกเขาตองใชกเชนกลองถายรูป เครื่องบันทึกเสียง เครื่องเลนเพลง ตัวเก็บ ็ ขอมูล (Flash Drive, Thumb Drive, Memory Stick) ถานไฟชนิดตางๆ สินคาเหลานี้พวกเขาซื้อหามา ใชเพื่อความสุข ความบันเทิง เก็บความทรงจํา และการเพื่อผอนคลายแทบทั้งสิ้น และเวลาที่บริษัททัวร อาจจะจัดใหนักทองเที่ยวแวะเขาไปซื้อสินคาเหลานี้ก็ชางมีเวลานอยนิด แตนักทองเที่ยวมีเวลาการใช เวลาการอยูในหองพักทั้งคืนครับ และถาเราจัดแคตาลอคเครืองเสียงและเครื่องใชไฟฟาใหเคาไดดู โดยใหสินคาเครื่องเสียงหรือ ่ เครื่องใชไฟฟาที่ที่อยูในแคตาลอคนั้นมีขนาดพอเหมาะคือไมใชชิ้นใหญจนเกินไป สินคาสามารถซื้อหรือ พกพาได หรือเปนเครื่องเติมเต็มใหกับเครื่องใชไฟฟา และโปรโมทใหนักทองเที่ยวไดรับทราบ เปนไป ไดม้ยครับที่เราจะสามารถขายสินคาและบริการเพิ่มขึ้นได เมื่อรวมกับคาหองพัก คาอาหาร หรือบริการ ั อื่นๆ ที่โรงแรมจัดใหก็จะทําใหคาใชจายยอดรวมตอหองนั้นสูงขึ้น ทําไมจะตองเสนอสินคาแคน้ําดื่ม ของ ขบเคี้ยวแคในมินิบารของหองพักเทานั้นละครับ เสนทางที่ 2 มองขามไปยังกลุมกลยุทธอื่นๆในอุตสาหกรรมเดียวกัน (Look across strategic groups within industries) ในมุมมองนี้คอการมองกลยุทธที่กลุมธุรกิจในอุตสหกรรมเดียวกับเรานั้นใชอยู อยายึดติดกับกลยุทธ ื แบบเดิมๆ ที่เขาทํากันอยูแตตองมองใหเห็นโอกาสเห็นจากการใชกลยุทธเดิมๆ เหลานั้นใหได ซึ่งเรื่องนี้ อาจจะไมใชเรืองที่ทํากันงาย แตก็ไมใชสิ่งที่เปนไปไมไดเสียเลย กลวิธีของการหานานน้ําสีครามใน ่ รูปแบบนี้เราอาจจะใชกรอบคิดสี่ประการคือ ขจัด (Eliminate) ลด (Reduce) ยก (Raise) สราง (Create) หรือที่เรียกกันวาโมเดล “ERRC” มาใชเปนเครื่องมือชวยในการคนพบนานน้ําใหมสีคราม ดังกลาว ตัวอยางในกรณีนี้เชน ถาเราพูดถึงมหาวิทยาลัยสิ่งหนึ่งที่มหาวิทยาลัยในประเทศไทยมีควา

มตองการก็ คือการมีศูนยหนังสือเปนของตนเอง มหาวิทยาลัยที่มีศูนยหนังสือที่เปนตนแบบและมีบริการที่นา ประทับใจของหลายคนก็อาจจะเปนศูนยหนังสือแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หรือศูนยหนังสือของ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร เพราะศูนยหนังสือทั้งสองแหงมีหัวหนังสือ และนิตยสาร ใหเลือกกันอยาง Copyright 2009 College of Management, Mahidol University. All rights reserved. August 2009. 2 | Page

มากมาย ทั้งตั้งอยูในยานชุมชนที่มีผูคนเดินพลุกพลานของเขตสามยาน และทาพระจันทร ซึ่งทําเล เหลานี้นั้นเปนจุดขึ้นรถ ลงเรือ ของผูคนหลากหลายประเภทไมวาจะเปนนิสิต นักศึกษาหรือประชาชน ทั่วไป การที่มีคนเดินพลุกพลานก็เปนสวนสนับสนุนที่ทําใหศูนยหนังสือของมหาวิทยาลัยทั้งสองแหง เปนศูนยหนังสือที่ไดรับความนิยมจากคนทั่วไป ทั้งตําหรับตําราของอาจารยทั้งของจุฬาฯ และ ธรรมศาสตร หรือจากมหาวิทยาลัยแหงอื่นก็ถูกนํามาวางจําหนายในศูนยทั้งสองแหงนี้ ในขณะเดียวกัน ขนาดของศูนยหนังสือนั้นก็มขนาดที่ใหญโต มีพื้นที่ขายหนังสือมาก เมื่อมีความนิยม ศูนยฯ ก็สามารถ ี จัดหาหนังสือมาวางไดมากมายหลายประเภทหรือแมกระทั่งเปนที่เปดตัวหัวหนังสือใหมๆ รูปแบบที่เปนเลิศดังกลาวทําใหมหาวิทยาลัยหลายแหงขอใหศูนยหนังสือจุฬาฯ ไปชวยดําเนินการ จัดการ บริหารศูนยหนังสือให หรือมหาวิทยาลัยหลายๆ แหงที่ตองการมีศูนยหนังสือเปนของตนเอง บาง แหงก็คิดหยิบยืมรูปแบบที่เปนเลิศ (Best practice) ของศูนยหนังสือทั้งสองแหงนี้มาใช แตเมื่อเริ่มลง มือเก็บขอมูลเพื่อดําเนินการ หลายๆมหาวิทยาลัยกลับพบวาศูนยหนังสือที่ทั้งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตรทําขึ้นมาไดนั้นไมใชเรืองงายเลย ผลกําไรที่จะเกิดขึ้นนั้นอาจจะตองใช ่ เวลาคืนทุนนานหลายป และตองใชทั้งความอดทน เงินทุน การเลือกหาทําเลที่เหมาะสม รวมทั้งตองหา วิธีจดการบริหารหนังสือไมใหเกิดการคางสต็อค มหาวิทยาลัยหลายแหงที่ดําเนินการสรางศูนยหนังสือ ั เองนั้นก็ประสบภาวะขาดทุนตอเนื่อง และพยายามหาหนทางที่จะอยูรอดในการทําศูนยหนังสือโดยการ มองจากรูปแบบที่เปนเลิศนั้นทํากันอยางไร มหาวิทยาลัยมหิดลเองก็เปนมหาวิทยาลัยขนาดใหญแหงหนึ่งที่ยังขาดศูนยหนังสือที่เปนของตัวเอง ซึ่ง ทางมหาวิทยาลัยเองก็มีโครงการจัดตั้งศูนยหนังสือเปนของตัวเองและไดพยายามศึกษาหารูปแบบที่ เหมาะสมอยู ศูนยหนังสือแหงจุฬาลงกรณ หรือศูนยหนังสือมหาวิทยาลัยธรรมนั้นก็เปนถือไดวาเปน ตัวอยางที่มหาวิทยาลัยมหิดลเขาไปศึกษา แตหากวิเคราะหมุมมองตางๆ ในการจัดตั้งศูนยหนังสือแลว แลวเราก็อาจพบวามหาวิทยาลัยมหิดล นั้นมีความแตกตางจากจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยและ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรในเรื่องของโอกาสในการจัดสรางศูนยหนังสืออยางมาก ไมวาจะเปนที่ตั้งซึ่ง มหาวิทยาลัยมหิดลที่มีวิทยาเขตกระจายอยูหลายพื้นที่ไมวาจะเปน พื้นที่ศาลายา (Main Campus) บางกอกนอย ถนนศรีอยุธยา ถนนราชวิถี ถนนพระราม6 ถนนวิภาวดีรังสิต ไมไดรวมเปนศุนยเหมือนอยาง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยหรือมหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร ที่ทาพระจันทร นอกจากนี้พื้นที่เปน Main Campus ที่ตําบลศาลายาที่จังหวัดนครปฐมของมหาวิทยาลัยมหิดลนั้นก็ไมใช จุดแวะพักเปลี่ยนรถ ลงเรือ หรือเปนชุมชนที่มีผูคนอาศัยอยูหนาแนนแตอยางใด การจัดทําศูนยหนังสือ ดวยวิธคิดแบบเดียวกับที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยทําหรือที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตรทํานั้นดูจะเปนเรื่อง ี ที่เสี่ยงตอการขาดทุนและอยูรอดในระยะยาวเปนอยางมาก นอกจากนี้หนังสือ หรือตําหรับ ตําราวิชาการก็มีความเปนวิชาการดานการแพทย วิทยาศาสตร หรือการ สาธารณสุขคอนขางมาก ซึ่งกลุมผูอานมักจะเปนกลุมเฉพาะ ซึ่งมีจํานวนผูอานไมใหญมากนัก ดังนั้นหาก มหาวิทยาลัยมหิดลจะคิดทําศูนยหนังสือแบบเดียวกับที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยทํานั้นอาจเปนเรื่องที่ เปนไปไดยาก เพราะมีความแตกตางตางในปจจัยที่ผมไดเรียนใหไดรบทราบแลว สิ่งที่พอจะเปน ั ทางเลือกก็คือการใหรานหนังสือขนาดใหญของเอกชนเขามาดําเนินการจัดตั้งศูนยหนังสือให แตถาไม เลือกเสนทางนี้มหาวิทยาลัยก็จะพบกับการขาดทุนตอเนื่องและยังไมรวาจะไดทุนคืนเมื่อไร ู แตอยางไรก็ตามการขาดศูนยหนังสือก็จะทําใหงานบริการวิชาการของมหวิทยาลัยนั้นดูดอยลงไปเพราะ ไมสามารถเผยแพรความรูที่เกิดขึ้นในมหาวิทยาลัยไปสูประชาชนทั่วไปได  ปญหาเรื่องศูนยหนังสือของมหาวิทยาลัยมหิดลนั้นหากนําเอาแนวคิดในเรื่องการมองข

ามไปยังกลุมกล ยุทธอื่นๆในอุตสาหกรรมเดียวกัน มาปรับใชเราก็อาจจะพอเห็นแนวทางใหมๆ ในการที่จะจัดตั้งศูนย หนังสือขึ้นมาได โดยเริ่มตนจากคําถามที่วาถาเราไมเลือกแนวคิด (ขอบเขต) ที่เลือกทําศูนยหนังสือ ขนาดใหญอยางของจุฬาลงกรณ หรือของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรนั้น มหาวิทยาลัยมหิดล ยังจะยังทํา ศูนยหนังสืออีกหรือไม ถาตองการจะทํามหาวิทยาลัยอื่นอยางไรอีก หรือไม จากคําถามดังกลาวถาคําตอบคือ ‘ใช’ มหาวิทยาลัยนั้นยังตองการศูนยหนังสืออยูอีก เราก็อาจจะมอง ทางเลือกไดวา ศูนยหนังสือที่จะตั้งขึ้นอาจจะไมจําเปนตองมีขนาดใหญแตอาจจะเปนรานขายหนังสือที่มี ขนาดที่เล็กเหมือนรานขายหนังสือธรรมดาทั่วไป สาเหตุหนึ่งที่ควรจะทําใหรานหนังสือขนาดเล็กก็เพราะ Copyright 2009 College of Management, Mahidol University. All rights reserved. August 2009. 3 | Page

มหาวิทยาลัยเองก็ไมไดมีความประสงคที่จะขายหนังสือแขงกับผูคนที่ทําธุรกิจรานหนังสืออยูแลวเพราะ หากดูรานหนังสือขนาดใหญดวยการบริหารอยางนั้น ทําใหพวกเขาตองกระโจนเขาสูนานน้ําสีเลือดเพื่อ  แยงชิงลูกคา และทายก็คือการแขงขันกันขายหนังสือใหคนอื่นแทนที่จะขายหนังสือของตัวเองเปนหลัก ดังนั้นแผนการบริหารรานหนังสือของมหาวิทยาลัยที่มีขนาดเล็ก อาจจะเปนการตั้งรานหนังสือภายใน พื้นที่ของมหาวิทยาลัยเอง โดยมีหนังสือหลายประเภทที่พอเพียงจะตอบสนองความของนักศึกษาระดั

บ หนึ่ง แตในขณะเดียวกันก็มีมุมพิเศษที่เปนหนังสือที่เปนผลงานเขียนของคณาจารยและนักศึกษาของ มหาวิทยาลัยเพิ่มเติมขึ้นมา หนังสือประเภทนี้เนื่องจากเปนหนังสือที่คอนขางเฉพาะดังที่กลาวมาแลว การสราง จุดสัมผัส หรือที่เรียกวา ‘Contact Point’ ก็ถือเปนสําคัญสําหรับศูนยหนังสือแหงนี้ เพราะจะ เปนการทําใหศูนยหนังสือลดขนาดของรานลงได สิ่งที่จะเปนสุดสัมผัสที่ดีก็คือ เว็ปไซดของ มหาวิทยาลัยที่ตองพัฒนาใหมีมุมหนังสือใหมจากศูนยหนังสือ โดยมีงานเขียนของคณาจารย ออกมา เปนระยะๆ และตองบริหารเว็ปไซดใหมีความเคลื่อนไหวอยูตลอด นอกจากนี้ยังควรสงเสริมใหคณะอื่นๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งทางสายสังคมศาสตรไดจัดทําหนังสือ หรือ ตําราออกมาเพื่อเพิ่มความหลากหลายในมุมหนังสือพิเศษดังที่กลาวมาแลว นอกจากเว็ปไซดกควร ็ หาทางทํา Catalog หนังสือและสงไปตามสถาบันหรือองคกรเปาหมายหรือการทําการตลาดในรูปแบบ ของ Direct Marketing ทั้งยังควรสงเสริมใหผูอานโดยเฉพาะศิษยเกาของมหาวิทยาลัยมหิดลไดมี โอกาสสรางผลงาน ทํางานเขียนขึ้นมา ซึ่งหากสามารถมองไดในลักษณะนี้แลวตนทุนการดําเนินงานก็อาจจะไมสูงจนเอื้อมไมถึงเหมือนกับการ ที่ตองทําศูนยหนังสือขนาดใหญและหนังสือที่ขายไดก็เปนหนังสือของคนอื่นแทนที่จะเปนหนังสือ ตําหรับตําราของมหาวิทยาลัยมหิดลเอง หากรูปแบบที่ดังกลาวเปนไปตามที่เราวางแผนเอาไวเราอาจจะนํา กรอบคิดสี่ประการของนานน้ําสีครามา ประยุกตใชดวยกไดครับ ยกตัวอยางใหดูนะครับ ยก 1. จัดทํามุมตํารา ที่เขียนขึ้นโดยคณาจารยของ มหาวิทยาลัย ในราน 2. ขยายจํานวนและความหลากหลายของตําร ที่มาจากคณาจารยใหมากขึ้น 3. เพิ่ม Webpage หนารานหนังสือของ มหาวิทยาลัย 4. กระจาย Catalog ไปยังกลุมเปาหมาย แทนที่จะทําใหกลุมเปาหมายมาซื้อที่ราน เลิก 1. เลิกแนวความคิดที่จะทําศูนยหนังสือขนาด ใหญ 2. เลิกการแนวคิดการขายหนังสือใหผูอื่น มากกวาที่จะขายหนังสือ หรือตําราของเรา เอง สราง สรางรานหนังสือขนาดเล็ก สรางเครือขายผูเขียนหนาใหม จัดทํา Catalog หนังสือ สรางเครือขายผูเขียนและผูอาน

1. 2. 3. 4.

ลด 1. ลดการติดตอกับรานหนังสือขนาดใหญใหมาบริหาร รานใหเรา แตคงความสัมพันธเพื่อใหเปนผูจัดสง หนังสือใหรานหนังสือของเรา 2. ลดขนาดของแผนลง รวมถึงการตั้งงบประมาณ สําหรับจัดทําศูนยหนังสือขนาดใหญ

ตัวอยางที่ยกมานี้อาจจะยาวซักหนอยแตคิดวาคงเห็นเสนทางสายที่ 2 ไดชัดขึ้นนะครับ เสนทางที่ 3 มองขามไปยังหวงโซของผูซื้อ (Look across the chain of Buyers) ในเสนทางสายนี้เราคงตองทําความเขาใจเสียกอนวา ผูซื้อ (Buyer) ในที่นี้อาจจะไมใชผใชกได หากเรา ู ็ มองภาพในมุมที่กวางขึ้นเราก็จะพบวาหวงโซของผูซื้อนั้นอาจมีคนอื่นเขามเกี่ยวของอีกมากมาย นอกเหนือจากผูซื้อแตเพียงผูเดียว คนอื่นที่วาก็คือผูใช (User) หรือผูที่มอิทธิพลตอการซื้อ ี (Influencer) เชนการจัดซื้อสินคาของบริษัทอาจจะมีฝายจัดซื้อเปนผูดําเนินการในเรื่องการซื้อสินคา แต Copyright 2009 College of Management, Mahidol University. All rights reserved. August 2009. 4 | Page

ผูใชนั้นอาจจะเปนผูที่อยูในสายการผลิต หรือในกรณีเครื่องใชสํานักงานก็อาจจะเปนพนักงานเปนผูใชแต พนักงานเหลานั้นไมใชผูซื้อ หรือแมกระทั่งการสั่งซื้ออาจถูกสั่งใหซื้อจากผูมีอิทธิพลเชน บริษัทตองการ ที่จะใชคอมพวิเตอรทั้งบริษัทเปนยี่หอเดียวกันหมด ดังนั้นผูบริหารจึงไดบอกใหฝายจัดซื้อเปนผูหา คอมพิวเตอรในแบรนดที่บริษัทไดวางแผนเอาไว ซึ่งอยางนี้การซื้อนั้นก็เปนการซื้อที่เกิดขึ้นตามผูมี อิทธิพลในการซื้อมากกวาที่ผูซื้อจะเปนผูจดการดําเนินการเลือกซื้อสินคาเอง ั อานดูแลวอาจจะเขาใจยากซักหนอยนะครับวาเปนอยางไร ตัวอยางสําหรับกรณีศึกษาในเสนทางนี้ คง ตองยกเครดิตใหกับคายเพลงตางๆ ครับ หากยังจํากันไดนั้นผลิตภัณฑเสียงเพลงนั้นเคยขายกันอยูในรูป ของ คาสเซ็ตเทป และแผนซีดี ซึ่งธุรกิจเหลานี้เมื่อคายเพลงสรางสรรคเสียงเพลงออกมาแลวก็จะทําการ บันทึกใน คาสเซ็ตเทป หรือแผนซีดี และนําออกวางจําหนายตามรานคา หรือแผงเทปตางๆ สนนราคา ในชวงแรกๆ สําหรับคาสเซ็ตเทปก็จะอยูที้ประมาณ 90-130 บาทในขณะที่แผนซีดก็จะตกอยูในราวๆ ี 169-299 บาท ซึ่งลูกคาของคายเพลงตางก็คือรานคาสง รานคาปลีกที่เปนตัวกลางจัดจําหนายทั้งเทป หรือ ซีดีใหกบคายเพลงตางๆ รานคาที่เปนลูกคาของคายเพลงเองก็จะมีรายไดจากสวนตางของราคา ั ขายสงกับขายปลีก ที่ขายใหลูกคาของตนเองก็คือนักฟงเพลงนั่นเอง ในตอนนั้นเราจะจํากันไดวามีแผงเทปเกิดขึ้นไปทั่วประเทศ สินคาขายกันแทบทุกหนแหง หลายๆ คน เห็นวาธุรกิจนี้เปนธุรกิจทําเงินก็แหกระโจนลงมาขายเทปกันมากมาย แมกระทั่งคายักษใหญอยางแกรมมี่ ก็เปดรานตนแบบขายเทปและแผนซีดีเหมือนกันชื่อ ‘อิเมจิน’ โดยมีสาขาทดลองที่สยามสแควร แตตอมา ไมนานก็ทนพิษตนทุนไมไหวจึงตองปดไป สวนสาขาที่เหลือก็ตองปรับเปลี่ยนวิธีการขาย ไมใชแตขาย อัลบั้มเพลง หรือเทปแตเพียงอยางเดียว แตก็ตองเพิ่มมุมเพื่อใหดาวนโหลดดิจิตอลคอเทนต ซึ่งก็อาศัย Mall-based strategy คือเปดรานเกาะตามหางเทสโก โลตัสไปเรื่อยๆ อีกประการที่ทําใหรานคาเทป เริ่มตายหายไปจากธุรกิจจนเหลือไมกี่รายก็คือความเปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยี และแผนกอปนั่นเอง สําหรับเทคโนโลยีนั้นเปนการไดรับความนิยมของ Platform อยาง MP3 ซึ่งทําใหสามารถบีบอัดเพลงที่มีขนาดเล็ก และแผนซีดีหนึ่งแผนก็สามารถบรรจุเพลงไดเปนรอยๆ เพลง ซึ่ง เพลงดังๆ จากคายเพลงตางๆ ก็ถูกกอปปขายกันในรูปแบบของแผนใตดินซึ่งสามารถหาซื้อได งาย และเพื่อที่จะฟงเพลงดังไดสะดวกขึ้น หลายคนก็นําเพลงในฟอรมแมตนี้ Upload ขึ้นไปไวบนเว็ปให ฟงกันฟรีๆ ยิ่งกวานั้นบนเว็ปไซดบางเว็ปก็ยอมให Download เพลงกันอยางไมเกรงกลัวเจาของสิทธิ์ เมื่อเหตุการณเหลานี้เกิดขึ้นมาขึ้นทําใหยอดขายเพลงบนแผงและรานคาก็เริ่มที่จะมีนอยลงเรื่อยๆ รานคา หรือแผงเทปที่อยูรอดไดหลายๆ รานก็วางขายแผน MP3 ประกบไปดวย ศิลปนเองก็แยพลอยรับกรรม ของการกอปปไปดวย จนกระทั่งตองออกมารณรงคกนไมใหซื้อเทปผี ซีดเถื่อนแตก็ดูวา Campaign ั ี เหลานี้ก็ถูกเพิกเฉยจากผูฟงเพลง คายเพลงเองก็คงตองมองหาทางออกไมอยางนั้นบริษัทตัวเองก็จะ เอาตัวไมรอดไปดวย ในขณะที่เทคโนโลยีที่เกิดใหมกลายเปนโอกาสของนักปลอม เทคโนโลยีก็เปนตัวเปดนานน้ําสีคราม นานสีครามที่ผมพูดถึงก็คือการที่คายเพลงมองขามหวงโซของผูซื้อ จากลูกคาที่เปนรานคาปลีก แผง เทปตางๆ ก็เปลี่ยนเปนการมองไปขามไปยังผูบริโภคขั้นสุดทาย คือนักฟงเพลง และลดการจัดจําหนาย ผานรานคาหรือ แผงเทปลง ซึ่งเปนการขายตรงไปผูบริโภคนั่นเอง แผนภาพนี้จะทําใหเขาใจเรื่องการขามหวงโซของผุซื้อไดมากขึ้นครับ ระบบการจัดจําหนายแบบเดิมที่ตองผานรานคา 

คายเพลง

แผงเทป

ผูซื้อ

Copyright 2009 College of Management, Mahidol University. All rights reserved. August 2009. 5 | Page

ระบบการจัดจําหนายในนานสีครามที่มองขามหวงโซผูซื้อทําการจัดจําหนายกลายไปเปนแบบนี้ครับ

หวงโซผูซื้อใหม

คายเพลง

แผงเทป

ผูซื้อ

ซึ่งการปลี่ยนหวงโซผูซื้อนั้นก็เปนการเปลี่ยนผูที่ไมไดเปนลูกคาใหมาเปนลูกคาของคายเพลงครับ นั่น คือกอนหนานี้ลกคาหลักของคายเพลงคือรานคาและแผงเทป แตเมื่อเปลี่ยนวิธีการกทําใหลูกคาเปลี่ยน ู จากรานคา แผงเทป มาเปนนักฟงเพลงโดยตรง ซึ่งงวีธการขายก็มีการเปลี่ยนรูปแบบของสินคาและ ี ผลิตภัณฑเพื่อไมใหเกิดการขัดแยงกับแผงเทปที่ยังคงขายใหอยูแตถูกลงความสําคัญลง นั่นก็คือรานคา แผงเทปก็ขายเพลงเปนอัลบัมในรูปแบบซีดี และคาสเซ็ทเทป ในขณะที่คายเพลงก็ขายสินคาที่เปน ดิจิตอล มิวสิค คอนเทนซ เชนการขายเสียงเพลงบนโทรศัพท หรือ เว็ปไซด ซึ่งมีอยูหลายรูปแบบไมวา จะเปน ริงโทน เสียงเพลงขณะรอสาย หรือ Download เต็มเพลง ซึ่งทําใหบริษัทคายเพลงสามารถสราง รายไดอยางเปนกอบเปนกํา งานวิจัยของคุณณฤทธิ์ พริบจุยนั้นระบุวาผูฟงเพลงในชวงอายุระหวาง 1534 ป นั้นมีการฟงเพลงจากมือถือมากในป 2008 คิดเปน 17% ซึ่งเพิ่มขึ้นกวาเทาตัวจากป 2007 เอาแค 3 เสนทางของการนําตัวเองไปสู นานน้ําสีครามกอนนะครับ เดี๋ยวผมมีเวลาเขียนจะขยายความอีก 3 เสนทางที่เหลือใหทราบในภาคตอไปครับ

Copyright 2009 College of Management, Mahidol University. All rights reserved. August 2009. 6 | Page

Similar Documents

Premium Essay

Hp Compaq

...Introduction ‡ Dell Computers and IBM posed threat for HP (Hewlett Packard) and Compaq. ‡ Decision regarding whether HP should merge with Compaq or not. ‡ Carleton S Fiorina strongly in favor of merger while Walter B Hewlett, son of one of the founder member was against the merger. ‡ Certain pros and cons for HP regarding merger: Pros Cons i. Compaq¶s huge storage business i. New CEO could start fresh strategy ii. Compaq¶s Himilaya server ii. Merger will expose HP as PC popular computers, diluting its printing business iii. Deal could double the size of iii. Difficult to merge such two large HP¶s repair-business. firms Strengths and Weaknesses HP Strengths i. Imaging and printing system ii. Strong reputation for innovation and quality iii. Strong in UNIX servers. Weaknesses i. Declining growth of PC market ii. Weak in server market that has profit potential iii. Vague direction of working. Compaq Strengths i. Hardware business ii. Strong distribution channel iii. Known for information technology Weaknesses i. At time of merger, it had huge. inventory ii. Dell had strong position in online business iii. Less capable of taking orders and customizing computers Problem Faced ‡ Difficult for Fiorina to make up minds of all board members in favor of merger. ‡ Workers anger because of laying off workers and les salaries offered. ‡ Steep fall in Stock of HP after merger. ‡ Shares fall from $23.5 billion to $17.70 billion as investors...

Words: 1001 - Pages: 5

Premium Essay

Hp Compaq

...1 The merger between Hewlett Packard and Compaq Local Team 2 Mark Hollenstein Andre Nadjarian Glasson Fonseca Patricio Ducó Jan 8th , 2014 1. What would a SWOT analysis of HP and Compaq reveal? The main takeaway from this analysis is that the macro environment was tough, especially after the 9/11 attack and the technology industry was getting increasingly competitive and ever-changing. Therefore, even though both companies had their strengths, management was aware that the same business model would not last much longer. They were both clinging from very weak businesses: HP from the imaging and printing solutions that was already threatened by other brands and was evolving into digital solutions. Compaq was relying on a PC distribution model that was already showing signs of decay, especially shown by the negative operating margins they had even though they were the leaders in the market. Clearly they both needed a profound change and understood that combining with a company with opposite strengths could be a viable solution to ensure continued growth and the needed skills to adapt their model for the future, where enterprise 2 FGV15-303: Mergers and Acquisitions Case 1: The merger between Hewlett Packard and Compaq services was developing fast (as shown by IBM resurgence) and the PC industry demanded a low-cost distribution model. 2. What are the critical resources at HP? And at Compaq? Does Compaq complement HP? For HP the critical resources...

Words: 919 - Pages: 4

Free Essay

Compaq & Dec Merger

...Merging Information Technology and Cultures at Compaq-Digital (A): Meeting Day One Objectives On June 11, 1998, stockholders of Digital Equipment Corporation approved its acquisition by Compaq Computer Corporation, creating a $37 billion (US) personal computer and computing services firm. Within an hour of the stockholder vote, the more than 100,000 employees of the new Compaq were able to access a smgle e-mail directory via a corporate network that linked its world-wide sites. The IT units of the individual firms had banded together to successfully deliver their Day One objectives: There wasn't a whole lot of time to decide who was going to make what decision. As a team we marched off to figure out how we were going to get the networks to talk together even though they weren't the same technology. We figured out how to share mail, messaging—that kind of thing. It just had to happen pretty quickly. So we had a common task that we both went after. —Fred Jones. Vice President, Information Services. Compaq Experts inside and outside the firm recognized that the Compaq-Digital merger created a firm that could rival Hewlett-Packard and even IBM. But in order to leverage the potential synergies, Compaq's management team would need to overcome the challenges posed by the two firms' very different business models and cultures. Company Backgrounds Established in 1957, Digital Equipment Corporation introduced minicomputers to corporate computing environments. As minicomputers...

Words: 417 - Pages: 2

Premium Essay

Hp Merger with Compaq

...Change management project: The HP merger with Compaq Table of content: • HP- presentation • Subject of change- Hp’s merger with Compaq • Promoters of the change and their motivation • Resisting forces • Critical mass • Trigger. Reducing resisting forces. Results • Change process-dynamics of the forces that promote change and the inertial forces • Analysis of the result. Residual stress • Conclusions HP In 1938, two Stanford graduates in electrical engineering, William Hewlett and David Packard, started their own business in a garage behind Packard’s Palo Alto home. One year later, Hewlett and Packard formalized their business into a partnership called Hewlett-Packard. HP was incorporated in 1947 and began offering stock for public trading 10 years later. Annual net revenue for the company grew from $5.5 million in 1951 to $3 billion in 1980. By 1997, annual net revenue exceeded $42 billion and HP had become the world’s second largest computer supplier. HP posted net revenue in 2009 was $115 billion, with approximately $40 billion coming from services. In 2006, the intense competition between HP and IBM tipped in HP's favor, with HP posting revenue of US$91.7 billion, compared to US$91.4 billion for IBM; the gap between the companies widened to $21 billion in 2009. In 2007, HP's revenue was $104 billion,] making HP the first IT company in history to report revenues exceeding $100 billion In 2008 HP...

Words: 4405 - Pages: 18

Premium Essay

Hp and Compaq Case

...On November 6, 2001 Carly Fiorina HP CEO announces merger with Compaq. This is the one of the most notable days in HP history and as well as PC industry. It was called Largest merger in the PC industry and dumbest deal of the decade. When analyzing this merger after 13 year picture is changed. HP share price has raised more than 150% after merger. Carly Fiorina is not CEO and HP is still one of the most profitable companies in the world. HP is one of the famous companies found in Pao Alto in the garage. It was founded in 1938 in the year when PC industry wasn’t existing, when Steve jobs and Bill Gates weren’t even born. It is the company from which PC industry giants like Apple and Microsoft inherited corporate culture. Bill and Dave were graduates of the electrical engineering program of Stanford University. They decided to start business on drawing on Bill’s study of negative feedback. So there first product became the resistance capacitance audio oscillator, used to test sound equipment. First client was Walt Disney which used HP product in his animated movie Fantasy. From the day of founding HP was distinguished from other tech companies by it’s corporate culture. They called it HP way. Even Steve Wozniak founder of Apple praises HP corporate culture and says that the Apple seed was planted in Hewlett-Packard cubicle. It was philosophy which emphasized integrity, respect for individuals, teamwork, innovation and contribution to customers. HP grow from garage to world's...

Words: 1700 - Pages: 7

Premium Essay

Compaq – Digital Merging Case

...MERGER AND ACQUISITION:  MERGER AND ACQUISITION DISCUSSION ON  INFORMATION TECHNOLOGIES,  INFORMATION TECHNOLOGIES HUMAN RESOURCE ORGANIZATIONS & MANAGEMENT CULTURES ASPECT COMPAQ – DIGITAL MERGING CASE COMPAQ DIGITAL MERGING CASE 1 CONTENTS I. INTRODUCTION II. BEFORE THE MERGER III. DIFFICULTIES OF THE MERGER IV. SUGGESTIONS FOR THE ACHIEVEMENT OF THE MERGER V. CONCLUSION 2 I. INTRODUCTION Jan/1998: Official announcement the merging between Compaq Computer Corporation and Digital Equipment Corporation p g q p p 11/Jun/1998: The approval of the stockholder, the Day-One objective achievement: hi t Over 100,000 employees of the new Compaq were able to access a single email directory via a corporate network that linked it worldwide sites within 60 first minutes of the stockholder vote. 3 II. BEFORE THE MERGER DIGITAL EQUIPMENT CORPORATION: A minicomputers manufacturing 1957 Transferred from computer manufacturing to computing services During 1990s g Mid of 1980s The world’s secondlargest computer maker Jun 1998 The third largest provider of corporate computer services with $1.3 billion profits (at the merger time) Organization and resource: • • In 1997, it had 1,000 sales, production, and service sites all over the world. 70,000 employees (at the merger time) 4 II. BEFORE THE MERGER COMPAQ COMPUTER CORPORATION: Established in 1982 as a manufacturing in clone and sell personal computers. Located in Houston with around 20,000 employees, a haft of...

Words: 803 - Pages: 4

Premium Essay

Compaq Computer : Focus Groups

...17th Jan’2015 Marketing And Consumer Behaviour “Compaq Computer : Focus Groups” Dilema : Whether to Launch New Note book Group-2 Aditya Singh 14MBAGES003 Anuj Kumar Jain 14MBAGES006 Ashish Bhargawa 14MBAGES008 Deepak Sharma 14MBAGES012 Pankaj Naithani 14MBAGES018 Ramesh Kumar Koul 14MBAGES024 1.) Summary of the case * Compaq Computer is in business of designing and selling notebooks. * Consumer division market share is only 3% compared to market leader share of 60%. * Company expertise is in commercial division so company is less focussed on retailer’s relationship. * Company is launching a new product ‘Shark’ for consumer division in late summer 1996. * With expertise of engineers and manufacturer, new product has to be optimized features viz. size, weight, battery life, CD-ROM facility, screen, modem availability and floppy drive etc. | | * December 1995, Greg Memo, leader of the consumer notebook design team, had ordered a set of focus groups as part of his efforts to design. * Focus group participants reviewed seven different products, based on four different form factors. * Mid – December 1995, Company has placed an order for 40000 notebooks to manufacturer. * Greg is reviewing the report of Focus Group & rating of machines to check the survey response with respect to the features planned on model code Shark. | 2.) Objective of decision maker Compaq computer Corporation’s Consumer Division’s objective...

Words: 1432 - Pages: 6

Free Essay

Compaq

...lartë në Hjuston. Rosen i cili u bë kryetari i Compaq ofroi një investim fillestar prej $ 2.5 milion. Compaq u krijua pas një epoke në të cilën sipërmarrësit e PC ishin të përhapur. Zbulimi i madh teknologjik i mikroprocesorëve-i një çipi jashtëzakonisht të fuqishëm gjysmëpërçues bëri që kompjutera më të vegjë të ndërtohen që ishin edhe më të shpejtë, më pak të shtrenjtë, dhe më të lehtë për t'u përdorur. Për shkak të mikroprocesorëve shumë më të lirë kanë shërbyer për miimizimin e kompjuterave, kërkesa për PC është rritur, dhe kostot e zhvillimit kanë rënë dukshëm. Si rezultat, u krijuan shumë kompani të reja PC. Ndërsa këto kompani të hershme ishin të suksesshme në udhëheqjen teknologjike dhe shpesh kishte një dhunti për marketing, mangësitë në menaxhimin e inventarit dhe kontrollin e cilësisë eventualisht çuan që shumë prej tyre të dështonin. Kur Compaq mbërriti në vendngjarje sipërmarrjet kapitaliste kishin filluar të detyrojnë shumë sipërmarrës të kthenin kontrollin e kompanive të tyre për menaxherë profesionistë më me përvojë. Rosen - i cili kishte humbur një investim $ 400,000 në një start-up të PC - shpjegoi për Menaxhimin sot në vitin 1985, "Në ditët e para, ishte një zonë për njerëzit pompoz ... që transformoi personalitetin e tyre në kompani. Tani biznesi kërkon një lloj shumë të ndryshme të menaxherit. Ajo është bërë një industri shumë mizore. Ndryshe nga shumica e kompanive të reja PC, menaxhimi i Compaq kishte përfitimin e përvojës për një kohë të gjatë...

Words: 703 - Pages: 3

Free Essay

Bus 302 – Chapter 14 Case – “Hewitt-Packard Company”

...Assignment # 2 – Chapter 14 Case – “Hewitt-Packard Company” 1. Discuss the three most serious problems you have identified in the case. Defend why you think they are the most serious. When Mark Hurd, the new CEO, took over, he found matrix structures ambiguous, confusing and inefficient. The main reason is that there is no clarity on the roles that each unit in the matrix is intended to play. Unit roles suppose, responsibilities and relationships in a way that is clear, but not excessively detailed and hierarchical. Although the matrix seems to be a logical organizational solution, Fiorina, has not found it an easy structure. She has struggled with ambiguous responsibilities and reporting relationships, been slowed down by the search for consensus decisions, and found it hard to get all the different units to work constructively together. In fact, CEO Carly Fiorina was so preoccupied with immediate issues that she lost sight of her ultimate objectives. Fiorina and her staff consider that the HP Way is an anachronism of a different, slower time, and that for the company to survive and succeed in the future it must be driven purely by a rational business strategy. After all of the layoffs, organizational changes, assertion of executive hierarchies and the destruction of traditional company rules of behavior, the HP Way that the old-timers are fighting to save is probably already dead. Fiorina and her team appear not to believe in the Way, they are now reduced to appealing...

Words: 3419 - Pages: 14

Premium Essay

Swot

...Octavia Brown MGMT303 – Professor Runyon July 29th, 2011 SWOT Analysis Introduction Hewlett-Packard is a global technology company that provides various products, software, and services to a range of customers, including data storage, servers and solutions to business customers as well as a consulting services segment that offers information technology integration solutions for a range of technology issues. After its merger with Compaq, it became the world’s biggest computer hardware company, ranking number 20 in the Fortune 500 list. HP is doing business in more than 170 developed and under-developed countries. Being a large company gives HP many advantages such as dominating the market for printers (laser and inkjet), both for consumers and businesses using the economies of scale. The company is also taking an active role in developing the capacity of new markets all around the world, engaging with other multinational corporations, non-governmental organizations, and other world governing bodies to reignite the competitiveness at home and abroad through policies and strategies that can support free-market economies. This is one of the reasons HP a leading technology company in the growing IT markets (HP Annual Report, 2003). (S) Strengths Hewlett-Packard generated nearly $6.1 billion in cash flow from its operations and increased its cash and equivalents by 3 billion in 2003 (Datamonitor, 2004). Debt levels in this year were also very low which was significantly...

Words: 1261 - Pages: 6

Premium Essay

Hr Hp

...Growing from a two-person operation in 1939 to a present-day IT powerhouse, HP has experienced a remarkable journey .Nowadays, Hewlett-Packard is a global enterprise and especially after its merger with Compaq, the company became world’s biggest computer hardware and peripherals consort in the world and has ranked 20th in the Fortune 500 list in 2009. This led to general revenues of $118.4 billion, HP announced the acquisition of 3Com with the deal closing on April 12, 2010. On April 28, 2010, HP announced the buyout of Palm for $1.2 billion. On September 2, 2010 won its bidding war for 3PAR with a $33 a share offer ($2.07 billion) which Dell declined to match. At HP, it is believed that diversity is a key driver of their success. Putting all their differences to work across the world is a continuous journey fueled by personal leadership from everyone in their company. HP’s aspiration is that the behaviors and actions and actions that support diversity and inclusion will come from the conviction of every employee in the company making this diversity and inclusion a conscious part of how HP runs its business throughout the world . HP leaders have an advantage that enables them to learn and adjust as few others can. The depth, and vitality that come alive on a daily basis through the firm’s values “the HP way” are assets from which most of the silicon Valley continues to learn. Their general managers regularly discuss and assess the vitality of the HP way, a process , which inevitably...

Words: 2893 - Pages: 12

Premium Essay

Managing the Strategic Dynamics of Acquisition Integration

...Managing the strategic Dynamics of Acquisition Integration: Lessons from HP and Compaq Suggala Indraneel 012513187 Aim of the paper: This article discusses about the Hewlett Packard company and Compaq merger and analyzing the final result of the acquisition of the companies. The aim of the paper is to examine the operational integration process, process of formulating the integration logic, and strategic integration processes of two large high technology companies, HP and Compaq, which are well established in a highly dynamic competitive environment. Introduction: In 2001, HP CEO proposed to acquire the high technology computing company Compaq. They expected to have a longer term revenue and profit goals after merging the companies as both of the companies are already grown computing companies. But many of the analysts were against this idea. Even HP board members showed opposition towards the merger leading to a proxy fight. They argued that the integration risk was eventual as there was never a success in big companies acquisition the two companies have their own way of strategies and plans for the development of organization. This varied cultures create integration difficulties, revenue risks offset cost synergies, financial risks etc. This way, proxy fight was severe and success seemed narrow. But finally the organization integration was successful with...

Words: 1542 - Pages: 7

Premium Essay

Initiators of Organizational Change

...Initiators of Organizational Change Nic Pedersen Management 380 November 13, 2012 Wayne Ellis Initiators of Organizational Change Every company faces a time when an organization change will happen for the good or bad of the company. Organizational changes can be a profitable venture for a company and organizational change can lead to the demise of a company. A change to a company’s organization is a process discussed, decided on, and conducted during a hallway meeting of upper management. Tough decisions are made before an organizational change is made and the outcome of the decision is only known after the completion of the organizational change. The reasoning behind organizational changes varies from company to company, but organizational changes are initiated by two driving forces, internal and external forces. The following paragraphs will address the initiating forces behind organizational changes and provide an example of one of the initiating forces. Internal and External Forces Companies have various reasons whether good or bad to commit to an organizational change, but all companies share the two initial initiators behind organizational change, internal and external forces. External forces are defined as,” The forces compels from outside the organization, (on which organization normally have no or minimal control) are termed as External Change Forces” (Rawat, 2008). External forces contain...

Words: 1289 - Pages: 6

Premium Essay

My Strenght and Weaknesses as a Leader

...nearly twenty years of knowledge and expertise in sales and marketing to the company, which was seeking to reverse a declining market position relative to its competitors such as Apple. Her successes included recreating HP's image from that of an ordinary printer manufacturer to one as a supplier of a variety of Internet products. Fiorina overcame a number of challenging hurdles in undertaking the merger of HP with Compaq Computer Corporation, while enduring the public-relations uproar associated with a proxy fight initiated by the Hewlett family, who strenuously objected to the acquisition of Compaq. She bolstered HP's image as a state of the art American engineering company while taking the company into what was becoming known as the Internet Age. However, Fiorina had material obstacles to overcome. She was considered by many at HP as an “outsider”, since she had never worked for HP. Unlike the company's founders, she was a marketing/salesperson, not an engineer. Fiorina was also chastised for the mismanagement of the merger between Hewlett-Packard and Compaq, an acquisition which led to major losses for HP shareholders. Her relations with...

Words: 1399 - Pages: 6

Premium Essay

Riordan Mfg Network Upgrade

...Time for an Upgrade Who would think that all those empty plastic bottled water bottles lying around your house come from a global operation that relies on their data networks in all parts of the manufacturing process? Riordan Manufacturing is the leader in the plastic molding and injection business operating globally with 5 state of the art facilities in San Jose, California, Albany, Georgia, Pontiac, Michigan and Hangzhou, China. Riordan manufacturing is proud to be one of the leading manufacturers of heart valves, medical stents, fans, and of course plastic bottles. In order to keep up with the competition and be able to supply a superior product for their buyers at in a timely manner, their telephone and data networks need not only to be up to date, but to be able to withstand the network load for years to come. Current Topologies Each of the 5 locations operates on their own network with a satellite connection to the corporate offices in San Jose, California. Though a couple facilities are not as far back in the stone ages of networks as others, all locations need to be analyzed separately to help build the backbone of what’s to come. Over all, the main focus in this summary is to be able to access any information at any time from any location. This can and will be done with careful planning and lots of network expertise. San Jose, California With 250 employees working out of San Jose, it is one of the better sites network wise. Being the company’s corporate headquarters...

Words: 2038 - Pages: 9