Free Essay

Overview Concept of Family Medicine

In:

Submitted By zuobi789
Words 2377
Pages 10
(Overview Concept of Family Medicine)

วัตถุประสงคการศึกษา : ภายหลังการเรียนการสอน นักศึกษาสามารถ 1. บอกหลักการและลักษณะงานเวชปฏิบัติครอบครัว รวมทั้งความเชื่อมโยงระหวางเวชปฏิบัติ ปฐมภูมิ (Primary Care) และเวชปฏิบัติครอบครัว(Family Practice) 2. บอกแนวทางการซักประวัตผูปวยแบบองครวม (Holistic Approach)ได ิ 3. แสดงการใชเครื่องมือพื้นฐานทางเวชศาสตรครอบครัวในการรวบรวมขอมูลสุขภาพองครวม ของผูปวยไดอยางถูกตอง เครื่องมือดังกลาวไดแก เครื่องมือครอบครัว (Family Tree) ผังครอบครัว ตามกาลเวลา (Time Flow Family Chart) 4. อธิบายความหมายและองคประกอบของระบบครอบครัว (Family system) หนาที่ของครอบครัว (Family Function) วงจรชีวิตครอบครัว (Family Life Cycle) ได 5. บอกแนวทางการประเมินสุขภาพครอบครัว (Family Health Assessment) ได 6. วิเคราะหความสัมพันธของการเปลี่ยนแปลงวัยของครอบครัว (Family Morphogenesis) และผลกระทบตอสุขภาพปจเจกบุคคล 7. เชื่อมโยงสภาวะสุขภาพระดับบุคคล (Individual Health) กับสภาวะสุขภาพระดับครอบครัว (Family Health)ได วิธีสอน : การบรรยายพรอมฝกปฏิบัติในชั้นเรียน วิธีประเมินผล : 1. ขอสอบขอเขียน MCQ และ SAQ ลงกอง 2. ขอสอบ Comprehensive Exam ของคณะฯ 3. การมีสวนรวมในชั้นเรียน

เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ความรูพื้นฐานดานเวชศาสตรครอบครัว (Overview Concept of Family Medicine)
ผศ.พญ.สายพิณ หัตถีรัตน ความสัมพันธระหวางเวชปฏิบัตปฐมภูมกบเวชปฏิบติครอบครัว (Primary Care and Family Practice) ิ ิั ั ในการพัฒนางานของระบบสาธารณสุขมูลฐาน(primary health care) และงานบริการแบบเวชปฏิบติ ั ปฐมภูมิ (primary care) ใหประชากรไดมโอกาสรับบริการดานสุขภาพที่เทาถึงและเทาเทียมตามกฏบัตร ี ออตตาวา มีการพัฒนาตอยอดจนสามารถดําเนินการใหมบริการที่เฉพาะเจาะจงกับความตองการของแตละ ี ครอบครัว รวมทั้งเฝาดูแลสุขภาพของบุคคลและครอบครัวอยางตอเนื่องยาวนาน ลักษณะงานดังกลาวเปนที่มา ของงานเวชปฏิบัติครอบครัว (family practice) (1,2) ซึ่งประกอบดวยงานที่มีลักษณะเดนสองดาน คือ 1. เวชปฏิบติปฐมภูมิ ที่มีหลักการสําคัญ 4 ประการ คือ ั 1.1 เปนดานแรกของการเขาถึงบริการดานสุขภาพ (First Contact) 1.2 ดูแลตอเนือง (Continuity of Care) ่ 1.3 ดูแลผสมผสานทุกปญหา รวมกับการคัดกรองโรค รักษาโรค สรางเสริมสุขภาพ และฟนฟู สภาพ (Comprehensive Care) 1.4 ติดตอประสานงานกับฝายตางๆเพื่อใหการดูแลสุขภาพครบถวนรอบดาน (Coordinated Care) 2. การดูแลสุขภาพแบบองครวม ที่สามารถแบงคราวๆเปน 3 ระดับ คือ 2.1 การดูแลโดยใหผูปวยเปนศูนยกลาง (Patient-Centered Care) 2.2 การดูแลผูปวยโดยเขาใจภาพรวมทั้งหมดของครอบครัว (Family-Oriented Care : “The  Family as a Patient”) 2.3 การดูแลผูปวยโดยเขาใจภาพรวมทั้งหมดของชุมชน (Community-Oriented Care) ประเภทของเวชปฏิบัติ (Type of Medical Care) (3) แมจะไมไดมการแบงแยกขาดจากกัน แตในหลายประเทศจะมีการจัดการบริการที่แตกตางกันอยู ี 3 ประเภทดังนี้ คือ เวชปฏิบตปฐมภูมิ (Primary Care) เนนทีการบริการเปนดานแรกที่ประชาชนเขาถึงไดอยางเทาเทียม ั ิ ่ กัน บริการที่ผสมผสานเบ็ดเสร็จและตอเนือง ่

เวชปฏิบติทุตยภูมิ (Secondary care) เนนการบริการภายในสถานพยาบาลซึ่งผูปวยมักมีความ ั ิ เจ็บปวยบางอยางที่ทําใหตองนอนรักษาตัวหรือเฝาดูอาการอยางใกลชิดในสถานพยาบาล จึงเหมาะแกความ เจ็บปวยบางประเภท บางลักษณะเทานัน ้ เวชปฏิบติตติยภูมิ (Tertiary care) เนนการบริการภายในสถานพยาบาลที่ตองใชเครื่องมือและ ั เทคโนโลยีการแพทยชั้นสูง เนื่องจากเปนโรคที่สลับซับซอนและยากตอการวินจฉัย จึงตองอาศัยแพทยหลาย ิ สาขา เครื่องมือหลายเครื่องมือในการตรวจรักษา จึงมักเปนโรคที่พบไดนอยในชุมชน คาตรวจรักษาจึงมีราคา สูงตามไปดวย ระบบนิเวศของงานเวชปฏิบติ (Ecology of Medical Care) (4, 5) ั จากการศึกษาลักษณะประชากรทีเ่ ขามาใชบริการในเวชปฏิบัติระดับตางๆ พบวาตลอด 40-50 ปที่ผานมา แมวาโลกจะมีการพัฒนาทางการแพทยไปมาก แตลักษณะของประชากรที่เขามารับบริการยังไมมีการเปลี่ยนแปลง มากนัก กลาวคือ จากสัดสวนประชากร 1000 คน มีประชากรที่มีความเจ็บปวยอยูประมาณ 3 ใน 4 แตมารับ บริการตรวจรักษากับแพทยที่เวชปฏิบัติปฐมภูมิเพียง 1 ใน 4 ซึ่งแสดงวา อีกประมาณครึ่งหนึ่งของประชากร ที่เจ็บปวยในแตละเดือนไมเขาหาบริการทางสาธารณสุข ประชากรเหลานี้อาจจะหายเจ็บไขไปกอนที่จะมารับ บริการ หรือรักษาตนเองได หรือไปเลือกการรักษาแบบอืนที่ไมใชแบบการแพทยที่รัฐจัดหาไวให หรืออาจจะ ่ เจ็บปวยทุพพลภาพถึงอาจเสียชีวิตจนไมสามารถเขาถึงบริการได ดังนันประชากรสวนมากที่มาใชบริการตรวจรักษากับเวชปฏิบัติปฐมภูมิ จึงไมไดหมายถึงแตประชากร ้ ที่เจ็บปวยดวยโรคที่งายๆ เทานั้น แตสามารถมีความรุนแรงและอาจมีอาการแปลกๆที่ไมพบในเวชปฏิบัติอื่นได  สวนการที่ประชากรเขาใชบริการแนนขนัดไปทุกสถานพยาบาลในประเทศไทย หากมาดูที่รายชื่อผูใชบริการ อาจพบลักษณะของผูมารับบริการซ้ําซอนหลายครั้ง ทั้งผูปวยขาจรและผูปวยขาประจํา ทําใหดูเสมือนวามีงานบริการเยอะ  แทจริงแลวใหบริการซ้ําไปซ้ํามาใหแกประชากรบางคนเทานั้น นอกจากนี้จากการศึกษาพบวามีสัดสวนประชากร 9 ใน 1000 ที่เขารับการรักษาในเวชปฏิบัติทุติยภูมิ และมีเพียง 5 ใน 1000 ที่รักษาในเวชปฏิบัตตติยภูมิ ทายทีสุดมีเพียง 1 ใน 1000 เทานันที่รักษาในศูนยการแพทย ิ ่ ้ ระดับโรงเรียนแพทย ซึ่งแสดงวา ลักษณะความเจ็บปวยที่รักษาในสถานพยาบาลระดับทุติยภูมิ ตติยภูมิ และ ศูนยการแพทยนั้นนาจะเปนความเจ็บปวยที่หายากและแตกตางจากลักษณะความเจ็บปวยที่พบไดทเี่ วชปฏิบัติ ปฐมภูมิ เมื่อสถานพยาบาลขนาดใหญเต็มไปดวยความเจ็บปวยดังกลาว บุคลากรจึงมีความเชี่ยวชาญ ในการดูแลรักษาโรคที่พบไดยากเหลานั้นไดดีกวาแพทยที่เวชปฏิบัติปฐมภูมิ แตในทางกลับกัน แพทยที่อยู ในสถานพยาบาลขนาดใหญก็จะขาดองคความรูและทักษะในการดูแลลักษณะความเจ็บปวยที่พบบอย ในเวชปฏิบัติปฐมภูมิ ดังนันจึง ไมอาจกลาวไดวา แพทยที่เวชปฏิบติตติยภูมิมความสามารถมากกวาแพทย ้ ั ี ที่เวชปฏิบัติปฐมภูมิ เพราะมีความเชี่ยวชาญกันคนละชนิดของปญหาสุขภาพ

เวชปฏิบติแบบองครวม (Holistic Medicine) ั เนื่องจากมิติสขภาพแบบองครวมเปนมิตที่สอดประสานกันทุกดาน ไมสามารถแยกขาดจากกันชัดเจน ุ ิ เปนสุขภาพกาย สุขภาพจิต สุขภาพจิตสังคม สุขภาพจิตวิญญาณ จึงมีผูนาเสนอ bio-psycho-social model(6) ํ วาเรื่องของสุขภาพเปนเรื่องของระบบที่ถกทอกันอยูเปนผืนเดียวกันทุกระดับ โดยเริ่มตั้งแตระดับเซล ระดับ ั อวัยวะ ระดับระบบอวัยวะ ระดับบุคคล ระดับครอบครัว ระดับชุมชน ระดับสังคม และระดับจักรวาล เพื่อใหเขาใจงายจึงแบงสุขภาพองครวมออกเปน 3 ระดับ คือ 1. ระดับบุคคล (Patient-centred care) 2. ระดับครอบครัว (Family-oriented care) 3. ระดับชุมชนหรือสังคม (Community-oriented care) คุณสมบัตแพทยเวชศาสตรครอบครัว ิ ดวยความทีแพทยที่ทํางานในเวชปฏิบัติครอบครัวตองมีทักษะในการใหบริการทั้งแบบเวชปฏิบัติ ่ ปฐมภูมิและเวชปฏิบัติแบบองครวมซึ่งเฉพาะเจาะจงสําหรับรายบุคคลที่มาจากครอบครัวหนึ่งครอบครัวที่มี ความแตกตางจากครอบครัวอื่น โดยมีเปาหมายการเฝาดูแลติดตามประชากรกลุมหนึ่งใหมีสุขภาพดีอยางตอเนื่อง แพทยเวชศาสตรครอบครัวจึงตองมีลักษณะสําคัญ 4 ประการ(7) ดังนี้ 1. มีสัมพันธภาพที่ดีกับผูปวย (Doctor-Patient Relationship) 2. มีทักษะทางคลินกที่แมนยํา (Skillful Clinician) ิ 3. มีเวชปฏิบัตอยูในชุมชนหรือคํานึงถึงปญหาสุขภาพของชุมชนหนึ่งๆ (Community-Based Practice) ิ 4. เปนแหลงขอมูลหรือที่ปรึกษาใหแกประชากรที่รับผิดชอบ (Resource Person to a Defined Population) ความหมายของการมีสุขภาพดี (Healthy) ความหมายของ “สุขภาพดี” ในคําจํากัดความขององคการอนามัยโลก (WHO)(8) หมายถึง การมีสมดุลย ของสภาวะกาย จิต สังคม จิตวิญญาณ ของบุคคลหนึ่งๆ แตโดยสรุปในคําจํากัดความที่เขาใจไดงายกวา คือ  ภาวะที่บุคคลผูนั้นดํารงตนอยูไดอยางมีความสุขในสิ่งที่มีอยูรอบตัว ไมวาจะมีตวโรคหรือความเจ็บปวยใดๆ ั หรือไม หากใชคาจํากัดความนี้จะเห็นไดวาคนเราสามารถมีความสุขไดในทุกสภาวะโรค และอาจจะไมมี ํ  ความสุขก็ไดแมจะไมมโรค ภาวะที่คนเหลานั้นไมมีสุขทําใหเกิดความทุกขกายทุกขใจและเกิดเปนความเจ็บปวยได ี ในรูปแบบตางๆ แพทยมีหนาที่ประเมินและคนหาสภาวะที่ไมเปนสุขสําหรับผูปวยรายหนึ่งๆ ที่เดินเขามาปรึกษา และชวยดูแลเยียวยาใหเขาดูแลตนเองไดดขึ้น มีความสุขมากขึ้น ี

การดูแลโดยใหผูปวยเปนศูนยกลาง (Patient-Centred Medicine)(9) หลักการสําคัญของการดูแลโดยใหผูปวยเปนศูนยกลาง คือ ทําความเขาใจกับความไมสุขสบายของ ผูปวยที่เปนทั้งโรค(disease) และความเจ็บปวยในรูปแบบอื่น (Illness) ตัวโรค(disease) คือ ความเจ็บปวยที่มีคําจํากัดความหรือคําอธิบายทางวิทยาศาสตรไว แตความเจ็บปวย ในรูปแบบอืน(Illness) คือ ประสบการณความเจ็บปวยทีเ่ กิดขึ้นจริงกับบุคคลนั้นๆ ซึ่งทําใหเกิดทุกขขึ้น ่ อาจแบงไดเปนทุกข 4 ประเภท คือ ความคิดกังวล(Idea or concern) ความรูสึก (Feeling or emotion) ผลกระทบตอภารกิจประจําวัน(function) และ ความคาดหวังที่อยากไดรับความชวยเหลือจากคนภายนอก (Expectation) เมื่อทําความเขาใจและวินจฉัยไดทั้งตัวโรคและความเจ็บปวยของผูปวยอยางรอบดานแพทยก็ควร ิ ทําความเขาใจกับประวัติความเปนมา ชีวิตสวนตัวของผูปวยวาเปนใครมาจากไหน(Understand the whole  person) เพื่อเขาใจมากขึ้นวาโรคและความทุกข 4 ประเภทขางตนจะกอผลกระทบใหผูปวยรายนั้นๆอยางไร แพทยจึงจะสามารถตอรองหรือเยียวยารักษา ปลอบโยน และเฝาติดตามจนผูปวยหายทุกขโศก ในขณะเดียวกันก็หาโอกาสสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรคใหแกบุคคลนั้นๆตามความเสี่ยงในแตละครั้ง ที่ตรวจรักษา โดยแพทยตองวางแผนการดูแลรักษาสุขภาพใหผูปวยรายนั้นในระยะยาว และแบงประเด็น สําคัญในการดูแลใหเหมาะสมตามแตโอกาสและระยเวลาที่เอื้ออํานวยในขณะหนึ่งๆ เชน ระยะเวลาในขณะ พบผูปวยครั้งแรก ควรชวยเยียวยารักษาโรคและความทุกขที่เกิดขึ้นในขณะปจจุบันกอน แลวแบงเรื่องการปองกันโรค และสรางเสริมสุขภาพไวคราวถัดไป เปนตน สัญญาณเตือนสําหรับความเจ็บปวยอื่นที่ไมใชโรค (Warning signs of Illness)(9) ในสภาพแนนขนัดของแผนกตรวจผูปวยนอกของทุกโรงพยาบาล มีอาการจําพวกหนึ่งที่อาจชวยให แพทยฉกคิดไดวาผูปวยมาตรวจดวยอาการของความเจ็บปวยอื่นทีเ่ ปนทุกขมากกวาตัวโรค แสดงวาผูปวยนา ุ  จะมีความกังวลสูงวาจะปวยเปนโรครายแรงอะไรบางอยาง หรือ มีปญหาอื่นซอนเรน ตัวอยางเชน • มาตรวจบอยครั้งดวยอาการเล็กๆนอยๆ • อาการเดิมๆ หลายๆอาการ • อาการที่เปนมานาน ไมเคยหาย • ดูทุกขทรมานเกินจริงกับอาการเล็กๆ • พอแมที่ชอบพาลูกมาหาหมอตลอดเวลา • ผูปวยผูใหญทมีญาติมาเปนเพื่อนดวยเสมอ ี่ ดังนั้นเมื่อแพทยคัดกรองพบสภาพดังกลาวขางตน แพทยควรรีบใหความใสใจกับความทุกขดานอื่น ของผูปวยกอนที่จะลืม เพราะแพทยสวนใหญถูกปลูกฝงมาใหคนหาแตตวโรค หากผูปวยสงสัญญาณวามาตรวจ  ั ดวยความทุกขดานอื่น แพทยจึงควรมุงประเด็นหลักที่ความทุกขหรือความเจ็บปวยอื่นกอน เพราะถึงอยางไร แพทยก็ตองรับผิดชอบในการคนหาตัวโรคหรือความผิดปกติสวนอื่นของรางกายอยูดี 

ระบบครอบครัว (Family System)(10, 11) หากการวินิจฉัยโรคตองทําความเขาใจกอนวาโรคนั้นเกิดจากสาเหตุใด ไปกอพยาธิสภาพที่อวัยวะใด ทําใหระบบใดในรางกายรวนเรไป การวินจฉัยและรักษาปญหาสุขภาพของคนก็เชนกันตองเริ่มจากสาเหตุที่ ิ บุคคลนั้นเจ็บปวยเกิดจากอะไร เกิดจากอุปกรณในตัวของเขาเองที่ผิดปกติหรือเกิดจากเหตุปจจัยอื่นๆ ที่รายลอมตัวเขาอยู เชน ปญหารุมเราจากครอบครัวและสังคมของเขาที่สงผลใหเขาตองโหมงานหนักจนเจ็บปวย เปนตน  การดูแลรักษาคนจึงมีความหมายกวางกวาการรักษาโรค เพราะตองทําความเขาใจกับระบบที่ใหญ และกวางกวา ระบบที่มีอิทธิพลตอความเปนอยูของคนหนึ่งคนคือ ครอบครัว ซึ่งมีลักษณะที่อยูกนอยางเปนระบบ ั ไมใชตั้งขึ้นมาลอยๆ ตางคนตางอยู แตเปนระบบที่มีองคประกอบชัดเจน มีกลไกการดูแลและควบคุมซึ่งกันและกัน ทั้งยังมีการเปลี่ยนแปลงตามสภาพการณตางๆและกาลเวลา ลักษณะตางๆเหลานี้จึงเปรียบการทํางานของ ระบบครอบครั ว (family system) ว า คล า ยกั บ ระบบการทํา งานของต อ มไร ท อ (endocrine system) ที่ประกอบดวยอวัยวะตางๆ อยูกระจัดกระจายหางกัน แตสามารถทํางานเชื่อมโยงกันไดอยางเปนระบบได คอยตรวจสอบดู แ ล รวมทั้ ง ควบคุ ม ซึ่ ง กั น และกั น (Positive and negative feedback mechanism) ทั้งยังมีการเปลี่ยนแปลงสภาพตามกาลเวลา(Family morphogenesis) โครงสรางครอบครัว (Family Structure) หลังจากที่เขาใจวาครอบครัวทํางานอยางเปนระบบแลว แพทยควรทําความเขาใจกับรายละเอียด โครงสรางหรือองคประกอบของครอบครัวหนึ่งๆหรือบานๆหนึ่ง ซึ่งมักมีการจัดวางบทบาทของสมาชิกไว ตางๆ กันดังนี้ 1. ลําดับความสําคัญของสมาชิก (Hierarchy) ใครเปนบุคคลที่อยูตําแหนงสูงสุดของบาน เปนผูบังคับบัญชาของบาน เปนคนที่คอยขับเคลื่อนใหบานดําเนินไปได 2. อาณาเขตของบาน (Boundaries) ภายในบานมักจะมีการแบงกลุมยอยๆ ลงไปอีก เชน กลุมคูสามี ภรรยา กลุมพีๆนองๆ กลุมตายาย กลุมผูใหญ กลุมเด็ก เปนตน ่ 3. บทบาทของสมาชิก (Role selection) ในแตละบานจะมีการแบงหนาที่กันไวไมวาจะโดยตั้งใจ หรือไมตั้งใจ เชน ตั้งแตพอตาย แมกตองลุกมาทํางานหาเลี้ยงทุกคนในครอบครัว(Breadwinner) ยายตองมา็ ชวยเลียงหลานๆ (Nurturer) ปาคนโตซึ่งเปนคนที่ทุกคนเคารพ จะเปนคนเขามาชวยตัดสินใจเวลาที่ครอบครัว ้ ตองเผชิญปญหาวิกฤตตางๆ (Problem solver) หลานสาวคนโตเรียนมหาวิทยาลัยแลวเปนผูใหญพอที่จะคอย ดูแลคุณยายที่เปนโรคเรื้อรัง (Caregiver) เปนตน 4. แพะรับบาป (Noble Symptom Bearer/ Scapegoat) บางครอบครัวที่มีปญหาจะเกิดการเลือก บทบาท “ตัวซวย” ขึ้นมาเปนที่โยนบาปของคนในครอบครัว เชนการทีครอบครัวเกิดวิกฤตแบบนี้เพราะคนนี้ ่ เปนเหตุ เมื่อเกิดเหตุอีกก็โทษคนเดิมอีกทังๆที่ไมมีสวนเกี่ยวของ เปนคนที่ยอมรับการลงโทษโดยไมใช ้ ความผิดของตนเอง เพื่อใหครอบครัวผานพนวิกฤตไปชัวคราว แตเมื่อตองเปนแพะรับบาปอยูเรื่อยๆ อาจจะ่ ทําใหเกิดความเครียดสะสมขึ้นเรื่อยๆในตัวแพะนั้น และครอบครัวก็ไมรูจักการแกปญหาใหตรงจุด มีแตโทษแพะ

5. ลูกที่ตองมีภาระความรับผิดชอบสูง (Parentified Child) ในบางครอบครัวที่พอแมทําหนาที่ไมไดสมบูรณ ลูกบางคนก็จะลุกขึ้นมารับผิดชอบทําหนาที่ดูแลปกครองคนในบานแทน ซึ่งมักจะทําใหตองรับภาระเกินตัว และเกินลําดับอาวุโส 6. สมาชิกที่สนิทสนมกัน (Alliance) ในบานมักจะมีคําวา “ลูกพอ” “ลูกแม” “ลูกยาย” ซึ่งหมายถึง สนิทสนมกับใคร เปนพวกเดียวกันกับใคร 7. สมาชิกที่รวมหัวกันเปนอริกับคนอื่นในบาน (Coalition) มีการรวมพวกกันแลวตอตานพวกอื่นหรือ คนอื่นในบาน เชน จากคําพูดของแมวา “ใชสิ แกมันลูกพอ เห็นดีเห็นงามกันไปหมด ฉันคนเปนแมกลับไมเคย อยูในสายตา ทําอะไรเปนผิดไปหมด” จากคําพูดดังกลาว แสดงวาลูกเปนพวกเดียวกับพอ แตเปนคนละพวกกับแม กระบวนการภายในบาน (Family Process) ในแตละบานจะมีกระบวนการที่สมาชิกติดตอสื่อสารและเชื่อมโยงผูกพันกันไวหลายรูปแบบบาน สวนใหญมการเรียนรูพฒนาจนไดความสัมพันธที่ลงตัว สมาชิกสามารถเติบโตอยางเปนตัวของตัวเอง ี ั ในขณะที่รักกันชวยเหลือกันภายในบานดวย แตมกระบวนการผูกพันกันของสมาชิกบางบานทีมีปญหา เชน ี ่ 1. กลมเกลียวแนนแฟน (Enmeshment) คนในบานผูกพันแนนเหนียว รักกันมาก สนิทกันมากไป ไหนไปเปนหมูคณะ ทําอะไรทําดวยกันตลอดเวลา ทุกคนหวงใยกันและคอยดูแลเรืองราวตางๆของกันและกัน ่ ตลอด ทําใหสมาชิกแตละคนขาดความเปนอิสระและความเปนตัวของตัวเอง มีอารมณรวมกันสูง เมื่อคนใด คนหนึ่งเจ็บปวย จึงพากันวิตกกังวลอยางมากมายราวกับเจ็บปวยดวยกันทั้งบาน เขาใจและรูสึกแทนกันไปหมดทั้งบาน 2. ราวรานหางเหิน (Disengagement) คนในบานไมสนใจซึ่งกันและกันเลย ตางคนตางอยู ไมรู เรื่องราวของกันและกันในรายละเอียดที่ควรจะทราบ ไมมีอารมณรวมกัน ไมเขาใจความรูสึกของกันและกัน 3. ตีวัวกระทบคราดหรือตีลูกชิ่ง (Triangulation) คนในบานสื่อสารแบบออมคอม ไมพูดกัน ตรงไปตรงมา แตกลับใชวธตีววกระทบคราด เชน ตองการจะตอวาคนหนึ่ง แตไปบอกผานอีกคนหนึ่งกอน ิี ั โดยคนกลางไมใชคนของฝายใดฝายหนึ่ง ตองรับหนาทีสื่อสารไปมาระหวางกลาง ่ 4. ดําเนินการตามแบบแผน (Family Patterns) บางบานมีกระบวนการที่เปนขั้นตอนเรียงไปเปนแบบแผน เชน ทุกครั้งที่เกิดเหตุนี้ จะเกิดเหตุที่สอง และตามมาดวยเหตุท่สาม แทนที่บานจะมีการเรียนรูกับปญหาใหม ๆ ี และแกไขดวยวิธีใหม ๆบาง แตครอบครัวกลับใชวิธีเดิม ๆ ในการเผชิญกับสถานการณตางๆอยูตลอดเวลาซึ่ง อาจทําใหดูเหมือนวาครอบครัวไมเติบโต แกปญหาดวยวิธีเดิม ๆ สื่อสารกันดวยวิธีเดิม ๆ

กลไกของครอบครัวที่เปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา (Family across time) 1. พัฒนาการของครอบครัวหรือวัยของครอบครัว (Family Life Cycle) เมื่อครอบครัวมีสมาชิก ที่เติบโตขึ้นตามวัย สภาพปญหาและสถานการณที่ครอบครัวตองเผชิญหนาในแตละชวงเวลาก็จะแตกตางกัน ทั้งนี้ครอบครัวสวนใหญมีการเปลี่ยนแปลงแตละชวงเวลาคลายๆกัน จึงจัดพัฒนาการหรือวัยของครอบครัว เปนชวง ๆ ดังตารางเพื่อใหเห็นความแตกตางของพัฒนาการครอบครัวในแตละชวงเวลา กระบวนการเปลี่ยนแปลง รูปรางและกลไกภายในครอบครัวตามวัยของครอบครัว เรียกวา Family Morphogenesis ซึ่งเปนพัฒนาการ การเติบโตของครอบครัวหนึ่งๆ ตามปกติ แตการเติบโตเปลี่ยนระยะนี้อาจกอใหเกิดปญหาการปรับตัวของสมาชิกได เชน พอแมเลียงลูกมาจนถึงระยะวัยรุนตอนปลาย ลูกเริ่มสอบเขามหาวิทยาลัยได ทําใหตองแยกตัวออกไปอยู ้ หอพักนอกบาน มีชวิตเปนสวนตัวมากขึน แตพอแมยังทําใจไมได คอยเปนหวงและคอยติดตามเฝาระวังเหมือนสมัย ี ้ ลูกยังเรียนระดับมัธยมศึกษา พอแมทุกขดวยความเปนหวง ขณะที่ลูกก็รําคาญเพราะตองการเปนผูใหญ   จะเห็นไดวาครอบครัวมีการเปลี่ยนวัยจากครอบครัวที่มีวัยรุนตอนกลางมาเปนครอบครัวที่มวยรุนตอนปลาย ีั  ซึ่งมีความตองการการเติบโตคนละแบบ หากแพทยชวยใหพอแมเขาใจ คลายทุกข และปรับตัวกับความเปลี่ยนแปลง  ของครอบครัวที่เกิดขึ้นตามพัฒนาการปกติได ทั้งครอบครัวก็จะมีสุขภาพดีขึ้นโดยรวม 2. ปญหาในครอบครัวที่ถายทอดสูรุนถัดไป (Family Projection Process) แมกาลเวลาจะเปลี่ยนไป แตปญหาหรือแบบแผนบางอยางจะสามารถถายทอดสูรุนถัดๆไป หากติดตามดูแลใกลชิดจะสามารถคาดเดา ไดลวงหนา เชน ผูชายในครอบครัวนี้เปนคนที่ไมชอบไปหาหมอเมื่อปวย ผูหญิงในครอบครัวนี้มีประวัติ ตั้งครรภในวัยรุน เปนตน ปรากฏการณดังกลาวอาจเกิดจากการมีความเชื่อหรือการเลี้ยงดูดวยทัศนคติบางอยาง  ที่ผิดแผกไปจากครอบครัวอื่น 3. การรวมหัวหรือจับพวกกันขามรุนเพื่อเปนอริกับคนอื่น (Intergenerational Coalition) บางครอบครัว มีการจับเปนพวกกันโดยคนตางวัยเพื่อเปนอริกับสมาชิกคนอื่นในบาน เชน ยายสนิทกับหลานมากและ เสี้ยมสอนใหหลานเกลียดแมของตนเอง เปนตน แผนภูมิครอบครัว (Family Tree) (12) มีหลักการงายๆสําหรับนักศึกษาแพทย ดังนี้ วาดใหเห็นสมาชิกครอบครัวอยางนอย 3 รุน เพื่อใหเห็นแบบแผนบางอยางของครอบครัว เริ่มวาดจากตัวผูปวยหลักที่เดินเขามารับบริการทางการแพทยกอน ดวยการวงซอนหรือ เขียนลูกศรกํากับไวใหชดเจน ั การวาดใหเรียงลําดับพี่นอง และ สามีภรรยา จาก ซายไปขวา เพื่อทําความเขาใจไดงาย  ยกเวนในกรณีที่มีการจับคูของสามีภรรยาหลายคูหรือหลายครั้งใหกํากับดวยหมายเลขวาเปน ความสัมพันธครั้งที่เทาไหรของคนนั้นๆ หรือป พศ.ที่มีการแตงงานหรือหยารางกัน จากนันวงเสนรอบสมาชิกครอบครัวที่อยูบานเดียวกันกับผูปวยหลักที่มารับบริการกับ ้ แพทยเปนคนแรก

ระบุรายละเอียดของสมาชิกแตละคนเทาที่ทราบกอน ยังไมจาเปนตองวาดใหสมบูรณ ํ ในครั้งแรก วาดเทาที่ผูปวยเลาใหฟง รายละเอียดดังกลาวใหเขียนไวอยางยอ พอเขาใจได เชน  ชื่อหรือชื่อเลน อายุ อาชีพ/ชั้นเรียน โรค ความเสี่ยงทางสุขภาพ(เหลา/บุหรี่/การพนัน/เจาชู) สาเหตุการตาย อายุที่ตาย เปนตน ระบุความสัมพันธในครอบครัวดวยเสนลักษณะตางๆ เพื่อใหเขาใจกระบวนการของครอบครัวนั้นๆ รวมทั้งคาดเดาผลกระทบตางๆที่เกิดจากแบบแผนความสัมพันธดังกลาว ใหใกลเคียงความจริงที่สุด หากแตการแปลผลตองระมัดระวังวาภาพความสัมพันธดังกลาวเกิดจากมุมมองของผูปวยเทานั้น สมาชิกอื่นในบานอาจใหความจริงอื่นในมุมมองของตนเอง ผังครอบครัวตามกาลเวลา (Time Flow Family Chart) เนื่องจากแตละครอบครัวมีเหตุการณที่ผานเขามาในชวงเวลาตางๆและกอผลกระทบตอสมาชิกได ้ ไมเทากันขึนกับวัยของสมาชิกที่เผชิญหนากับเหตุการณนั้นๆ แพทยจึงควรทําความเขาใจกับลําดับเหตุการณ สําคัญที่ผานมากระทบสมาชิกครอบครัวดวยการวาด ผังครอบครัวตามกาลเวลา (Time Flow Family Chart) (3) เพื่อทําความเขาใจกับเหตุการณสาคัญ เฝาระวังความเจ็บปวยหรือปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นจากผลกระทบของ ํ เหตุการณดังกลาว และวางแผนการดูแลครอบครัวผูปวยในระยะยาว วิธการวาดผังครอบครัวตามกาลเวลา ใหวาดเสนตามแนวนอนแลวเขียนระบุลําดับเหตุการณสําคัญ ี ที่เกิดขึ้นกับผูปวยหลักที่มารับการรักษาในชวงเวลาตางๆ จากนั้นวาดเสนขนานแสดงลําดับเหตุการณสําคัญ ที่เกิดขึ้นกับสมาชิกคนที่สอง โดยใหจดแสดงเวลาเชน เดือน หรือ ป พ.ศ.ที่เกิดเหตุการณตรงกันกับเสนแสดง ุ เวลาของผูปวยหลัก และทําเชนนี้ตอไปเรื่อยๆ กับสมาชิกคนอื่นๆ ของบาน พัฒนาการหรือวัยของครอบครัว (Family Life Cycle) มีการทําความเขาใจกับครอบครัวที่เติบโตในชวงระยะตางๆวามีภารกิจแตกตางกันไป การแบงระยะ การเติบโตของครอบครัวทั่วไปมักใชหลักเกณฑท่วา การสรางครอบครัวหรือระบบใหมเกิดขึ้นเมื่อใดก็ใหนบเปน ี ั ระยะแรก ดังนั้นการแบงระยะพัฒนาการของครอบครัวของแตละประเทศจึงแตกตางกันไปตามวัฒนธรรมการ ใชชวตครอบครัว เชน ประเทศตะวันตกทีนิยมการออกไปตั้งครอบครัวตั้งแตเริ่มเขาวัยรุนก็จะนับระยะแรก ีิ ่ ของวัยครอบครัวที่ระยะแยกตัวออกจากครอบครัวเดิม ในประเทศทีนิยมการออกไปตังครอบครัวเมื่อเกิดการแตงงาน ่ ้ ก็จะเริ่มนับระยะนีเ้ ปนระยะแรกของวัยครอบครัว เปนตน นอกจากนี้จํานวนของระยะพัฒนาการครอบครัวจึงไมเทากัน ขึ้นกับสภาพสังคมนันมีการแบงระยะ ้ การดําเนินชีวตครอบครัวมากนอยหรือชัดเจนเพียงใด บางก็แบงเปน 6 ระยะ บางก็แบงละเอียดลงไปเปน 8 ระยะ ิ ดังนี้

ตารางที่ 1 แสดงพัฒนาการหรือวัยของครอบครัวในแตละชวง ภารกิจและพัฒนาการ วัยของครอบครัว ครอบครัวระยะคูครองและการแตงงาน • สรางระเบียบกฏเกณฑใหมในการใชชีวิตคูรวมกัน • ปรับตัวกับบทบาทใหมของแตละคนในการใชชีวิตคู • สรางความสัมพันธระหวางคูที่แยกตัวเปนเอกเทศจากครอบครัวเดิม ของแตละฝาย ครอบครัวระยะเริ่มมีบุตรหรือตั้งครรภ • สรางกฏเกณฑสําหรับตอนรับสมาชิกใหม • ปรับบทบาทตนเองใหมเมื่อมีคนอยูมากกวาสองคน • คงความสัมพันธระหวางคูในขณะที่เริ่มบทบาทใหมเปนพอแม ครอบครัวระยะลูกเล็ก • เตรียมพื้นที่เปนสัดสวนใหกับสมาชิกใหมที่เริ่มเติบโต • เตรียมเวลาและสถานที่เปนสัดสวนสําหรับชีวิตคูขณะที่ลูกเริ่มโต • ปรับตัวและบทบาทระหวางความสัมพันธแบบคูครองและ ความสัมพันธระหวางพอแมกับลูกเล็กที่ตองการการดูแลใกลชิด ครอบครัวระยะลูกวัยเรียน • หาเงินและสถานที่เรียนที่เหมาะสมกับครอบครัวหนึ่งๆ • ปรับตัวระหวางกฏเกณฑของพอแมที่ปกครองภายในบานและ กฏเกณฑของครูที่ปกครองในโรงเรียน • สรางกฏระเบียบใหมใหลูกเริ่มปรับตัวกับสังคมนอกบาน • เริ่มสอนงานภายในบานใหลูกเขามามีสวนรับผิดชอบ ครอบครัวระยะลูกวัยรุน • กําหนดกฏเกณฑใหมเพื่อปลอยใหวัยรุนไดมีโอกาสเปนตัวของตัวเอง ทั้งในบานและนอกบาน • แบงพื้นที่ที่เปนสัดสวนและเปนสวนตัวใหแกวัยรุนในบาน • กําหนดภาระหนาที่ของวัยรุนที่มีตอสมาชิกภายในบาน • เตรียมใจกับการแยกตัวและอารมณแปรปรวนของวัยรุน ครอบครัวระยะลูกวัยผูใหญตอนตน • ลูกแยกตัวออกจากบาน (Empty nest phase) รับผิดชอบชีวิตตนเอง มีแฟน มีคูครอง และปรับตัวกับชีวิตสังคมภายนอกบานตามลําพัง • พอแมปรับตัวกับการหมดบทบาทที่ตองเลี้ยงดูลูกอยางใกลชิด • อาชีพการงานของพอแมมั่นคง ประสบความสําเร็จ • พอแมปรับตัวกับความสัมพันธคูครองของตนที่มีมายาวนานและอาจ หางเหิน เย็นชา • พอแมเริ่มเขาสูวัยเจ็บปวย ปูยาตายายเริ่มเจ็บปวยหรือตาย ครอบครัววัยเกษียณอายุ • พอแมปรับตัวกับภาวะไมมีงานนอกบานที่เคยทํามาประจํา • พอแมกลับมาสรางความสัมพันธและปรับตัวอยูดวยกันใหมในวัยเริ่มชรา • พอแมปรับตัวกับสังขารที่เริ่มเจ็บปวย • พอแมสรางความสัมพันธและปรับบทบาทใหมกับสะใภหรือลูกเขยหลาน ครอบครัววัยชรา • ปรับตัวกับการเสื่อมลงของสังขาร ความเจ็บปวยของตนและคูครอง • ปรับตัวกับการสูญเสียความเปนตัวของตัวเอง ตองพึ่งพิงลูกหลานมากขึ้น • ปรับตัวกับการสูญเสียคูครอง เพื่อนฝูง และสังคมที่ตนคุนเคยมาตลอด ชีวิต ปรับตัวใหมีชีวิตอยูในยุคสมัยใหมได

ในสังคมที่ครอบครัวเปนลักษณะครอบครัวเดียว(Nuclear family) มีจํานวนสมาชิกครอบครัวนอย ่ การแบงระยะครอบครัวอาจชัดเจนตามวัยของสมาชิกในครอบครัว แตในสังคมที่มลักษณะของครอบครัว ี ขยายหรือมีจํานวนสมาชิกมาก อาจพบพัฒนาการของครอบครัวหลายระยะในเวลาเดียวกัน เชน ครอบครัว ที่มีบุตร 3 คน อายุ 5 ขวบ 10 ป และ 18 ป พอแมก็กาลังเผชิญหนาอยูกบพัฒนาการครอบครัวถึง 3 ระยะ คือ ํ ั ครอบครัวที่มีเด็กเล็ก ครอบครัวที่มีเด็กวัยเรียน และครอบครัวที่มีเด็กวัยรุนตอนปลาย เปนตน หนาที่ของครอบครัว (Family Function) ครอบครัวเปนหนวยยอยที่เปนองคประกอบของสังคม ในหนวยยอยนีมีการทํางานอยูตลอดเวลา ้ มีการดูแลควบคุมซึ่งกันและกัน แตละครอบครัวจึงทําหนาที่หลักๆดังนี้ สืบเผาพันธ (Reproduction) แสดงออกซึ่งความรัก ความเสนหาตอกัน (Sexual expression) เปนหนาเปนตาในสังคม (Socialization) แบงบทบาทหนาที่ตอกันและกัน (Status : Role, parents) ชวยกันหารายได (Economic cooperation) แสดงความเขาใจเห็นใจกัน (Emotional satisfaction) เปนการควบคุมดูแลกันในหนวยยอยของสังคม (Social control) ปญหาครอบครัว (Family Stress) จากเดิมทีแพทยเคยระบุเพียง “ปญหาครอบครัว” ทําใหไมสามารถเขาใจไดวาเปนปญหาอะไร และ ่ จะชวยเหลือผูปวยและครอบครัวไดอยางไร แพทยจึงควรระบุรายละเอียดของปญหาสุขภาพครอบครัวนั้น ให ชัดเจนวาเปนปญหาใดบาง เชน ปญหาการเลี้ยงดูบุตรอยางไมเหมาะสม (Inadequate parenting) ปญหาการทะเลาะเบาะแวง (Quarrel & Conflict) ปญหาการแตงงานหรือการหยาราง (Marriage & Divorce) ปญหาความเจ็บปวยหรือพิการทุพพลภาพ (Illness & Disability) ปญหาความเศราโศกสูญเสียจากการมีสมาชิกครอบครัวใกลตาย(Dying & Bereavement) ปญหาเศรษฐกิจ ไมวาความร่ํารวยหรือยากจน (Rich & Poverty) ปญหาการโยกยายถินฐานไปกอรางสรางตัวในสถานทีใหมที่ไมมีรากเหงาอยู (Uprooting) ่ ่ ปญหาการวางงาน (Unemployment) ปญหาครอบครัวที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงวัยครอบครัว (Family Morphogenesis)

การประเมินปญหาสุขภาพครอบครัว (Family Health Assessment) เนื่องจากครอบครัวประกอบดวยสมาชิกครอบครัวตั้งแตหนึ่งคนขึ้นไป และเมื่อครอบครัวดําเนินไป ก็จะมีปญหาตางๆเกิดขึ้นได แพทยจึงควรรูหลักการอยางงายในการประเมินสุขภาวะของครอบครัวดังนี้  ปญหาครอบครัว (Stress in Family) ทั้งที่เปนปญหาในอดีตและกําลังเปนปญหาในปจจุบัน รวมทั้งอาจคาดเดาปญหาในอนาคตของบานๆหนึ่งไดดวยการวาดแผนภูมิครอบครัว(Family tree) การประเมินวัยของครอบครัว(Family life cycle) และผังครอบครัวตามกาลเวลา(Time Flow Family Chart) วิธีรับมือกับปญหาของครอบครัว(Coping) ครอบครัวมีแบบแผนในการรับมือกับปญหาตาง ๆ อยางไร ที่พึ่งพิงหรือที่ปรึกษาของครอบครัว (Resources) เมื่อครอบครัวมีปญหาจนเกินแกไข ครอบครัวพึ่งพาหรือปรึกษาใคร เขาเหลานั้นแนะนําวาอยางไรบาง ผลกระทบตอสุขภาพ (Impact on health) จากปญหาครอบครัวดังกลาว สงผลกระทบตอ สุขภาพของสมาชิกในครอบครัวอยางไรบาง หนาที่แพทยกบการดูแลปญหาสุขภาพครอบครัว ั แพทยมหนาทีชวยเหลือดูแลปญหาสุขภาพครอบครัวไดหลายระดับ ตังแตระดับที่รบฟงปญหา ี ่ ้ ั ครอบครัวของผูปวยดวยความเห็นอกเห็นใจแตไมรูจะชวยเหลือหรือใหคําแนะนําอยางไร (Empathic listening) ระดับที่ใหคําแนะนําเมื่อผูปวยเกิดปญหาขึ้นและตองการคําปรึกษาเปนครังคราวแบบไมได ้ เตรียมการลวงหนา (Ad Hoc Counseling) ระดับที่ใหความชวยเหลือดูแลและสนับสนุนครอบครัวอยางตอเนื่อง เพื่อใหครอบครัวสามารถแกไขปญหาดวยตนเองจนผานลุลวงไปได (Working with the family) จนถึงระดับ ที่เขาไปทําครอบครัวบําบัด (Family Therapy) ที่ตองเขาไปชวยฝกความคิดหรือพฤติกรรมบางอยางที่เปน ปญหาใหทั้งครอบครัวใหม เชน พฤติกรรมการสื่อสาร การฝกคิดเชิงบวก เปนตน แพทยทวไปทีดูแลผูปวยและครอบครัวในระยะยาวจะมีโอกาสไดรับการปรึกษาปญหาครอบครัว ั่ ่ ี่ จากผูปวยเปนระยะๆ จึงควรฝกใหมีทักษะและทัศนคติทดีในการชวยเหลือดูแลใหครอบครัวเขมแข็งและ แกไขปญหาดวยตนเองไดอยางเหมาะสม รวมทั้งชวยเฝาระวังปญหาครอบครัวที่อาจจะเกิดขึ้นในระยะพัฒนาการ ตางๆ หรือแบบแผนตางๆของครอบครัว เพื่อตระเตรียมครอบครัวกอนที่จะเกิดปญหาขึ้นทักษะดังกลาวเปนการ ชวยเหลือดูแลและสนับสนุนใหครอบครัวแกไขปญหาที่ผานเขามาดวยตนเองไดดีขึ้น (Working with the family)

Similar Documents

Free Essay

Hmong People in the States

...development of research on the Hmong and assesses some of the key works within the interdisciplinary realm of Hmong Studies. Tapp’s essay is very valuable as an overview of the growth of Hmong Studies research based in Asia. Unfortunately, the sections of his piece pertaining to Hmong-American Studies, are, as he himself acknowledges, dated as they are heavily focused on publications from the 1980s and early 1990s. It is the purpose of the present short essay to provide the reader with an assessment of recent developments in Hmong-American Studies and some insights about certain research areas that need further development in the field. Health and Medicine Hmong-American Studies research has grown dramatically since the early 1990s. The Hmong Resource Center library in Saint Paul now possesses more than 150 dissertations/theses and 450 journal articles pertaining to HmongAmericans (as opposed to Hmong in Asia and other countries). The vast majority 1 of these works have been published since 1994. There are certain fields within Hmong-American Studies that have seen very important milestone publications emerge in the past few years. Foremost of these areas is the study of HmongAmerican experiences with Health and Medicine. While there are many individual studies about different health and medicine-related issues experienced by Hmong-Americans that have appeared in medical journals over the years, Healing by Heart: Clinical and Ethical Case Stories of Hmong...

Words: 1179 - Pages: 5

Premium Essay

Perelman School Of Medicine Case Study

...University of Pennsylvania holds claim to the prestigious Perelman School of Medicine. Located in Philadelphia, Pennsylvania, the University of Pennsylvania’s medical school is one of the oldest medical institutions in the country. It was founded in 1765 and boasts pride in its leading education, patient care, and research programs. Its excellence is continuously represented in the top five rankings for best medical schools. The school’s dean is J. Larry Jameson, MD, PhD, looking over more than 2,000 full time faculty members and 791 medical students. In addition, the school is home to over 1,100 residents and fellows and several hundred PhD, MD-PhD, masters’ students, and post-doctoral fellows (“Overview”). It is affiliated with the Hospital...

Words: 1550 - Pages: 7

Premium Essay

Docx

...* Psychology as a science was developed out of philosophy, biology, and other well-established disciplines. * Until 1920, psychology was a science of mental processes explored by Wundt, Titchener, James, and Freud. * From the 1920's until the 1960's, Americans John B. Watson and B. F. Skinner led the school of psychology known as behaviorism, focusing on the observation of people's behaviors. * Humanistic psychology, led by Carl Rogers and Abraham Maslow, countered behaviorism during this period by focusing on the personal growth and well-being of people. * In the 1960's, psychology shifted back towards a focus on how the brain approaches information. Recently, cognitive neuroscience studies how brain activity causes mental activity. * To combine the study of both the internal mental activities and observable human behaviors, psychology became the science of behavior and mental processes. TERMS * ------------------------------------------------- cognitive neuroscience  An academic field concerned with the scientific study of biological substrates underlying cognition, with a specific focus on the neural substrates of mental processes. It addresses the questions of how psychological/cognitive functions are produced by the brain. Cognitive neuroscience is a branch of both psychology and neuroscience, overlapping with disciplines such as physiological psychology, cognitive psychology and neuropsychology. Cognitive neuroscience relies upon theories in...

Words: 2537 - Pages: 11

Premium Essay

Dr. Madeleine Leininger Model

...Dr. Madeleine Leininger Model Bowie State Univerity NURS-430V Sandra White October 03, 2015 Dr. Madeleine Leininger BRIEF OVERVIEW According to Creasia&Friberg, 2011, Nursing theories are composed of Concepts and propositions that characterize the central occurrences of interest to nursing discipline to include: person, environment, health /illness, and nursing. Dr. Madeline Leininger has drawn from a background in cultural and social anthropology and applied it to her model which is now known as Leininger’s Cultural Care Theory. The theory was initiated from clinical experiences recognizing that culture and a holistic concept was the missing link in nursing knowledge and practice (Leininger, 1988). This presentation will take a look at how person, environment, health/illness, and nursing are greatly affected by different cultures and subcultures. Nurses are responsible for taking care of not only our own communities, but an ever-growing world around us. The ultimate goal of this theory is to provide culturally appropriate nursing care (Leininger, 1988). BACKGROUND OF THEORIST MODEL Dr. MadeleineLeiningeris called “a living legend”. She was born in Sutton, Nebraska in July 13, 1925. As a Nurse, anthropologist, teacher, mentor and visionary she became the founder of the Transcultural Nursing Movement. She was the one who proclaimed that “the world was fast becoming a global community and nurses needed to be able to recognize it and deliver culturally competent...

Words: 1673 - Pages: 7

Free Essay

Fhp = Community Nurse

...Wisconsin (ARDA, 2010) Approach towards health = use medical professionals, practice western medicine Promotes health: gyms, doctors, clinics, dentists, community organizations The Association of Religion Data Archives. (2010). County membership report. Dane County, Wisconsin. Retrieved from: http://www.thearda.com/rcms2010/r/c/55/rcms2010_55025_county_name_2010.asp Notes: There is an ample number of religious institutions available. 351 organizations include Evangelical Protestant, Black Protestant, Mainland Protestant, Orthodox, Catholic, and other. (ARDA, 2010). These religions practice western medicine. They believe physicians should be consulted for health and illness. Promotes health: Clinics, doctors, hospitals, dental care, mental health care, counseling services/centers, hospitals, school education, programs for elderly, community involvement The Association of Religion Data Archives. (2010). County membership report. Dane County, Wisconsin. Retrieved from: http://www.thearda.com/rcms2010/r/c/55/rcms2010_55025_county_name_2010.asp Sperling’s Best Places. (2016). Madison, Wisconsin. Retrieved from http://www.bestplaces.net/religion/city/wisconsin/madison Health Perception / Management Predominant health problems of Dane County, WI = Obesity, DM 2, HTN Leading cause of death in Dane County, WI (The Health of Dane County 2013 Health Status Overview Report, 2013) Cancer (678) Heart Disease (611) Alzheimer’s Disease (159) According...

Words: 1724 - Pages: 7

Premium Essay

Healing Hospitals a Daring Paradigm

...hospitals. This concept is based on research evidence that suggests that the environment of care has significant implications on patient outcomes. Creation of a healing environment thus represents a concerted effort to comprehensively address all the factors that contribute to the disease process (Giemer-Flanders, 2009). Healing physical environments comprise of the following components: healing physical environments, a culture of loving care, integration of technology into work design, and blended medicine. Healing hospitals, unlike traditional hospitals, concerned for the person as a whole. Caring for the whole person consists of attending to the persons mind, body, spirit, and the environment. Blended medicine, the first component of a healing hospital, refers to the use of both conventional medicine and complementary and alternative therapies. Conventional medicine is an evidence-based meaning that its clinical utility and effectiveness in the treatment of a given disease has been validated through high-quality clinical trials. Alternatively, the treatments may have been shown to be more effective in the treatment of a certain disease or they may have withstood the test of time. Complementary and alternative medicine, on the other hand, employs techniques that are often not validated through large clinical trials such as acupuncture, aromatherapy, hypnosis, biofeedback, music therapy, reflexology, aromatherapy, guided imagery, and pet therapy. Blended medicine is cognizant...

Words: 1662 - Pages: 7

Premium Essay

Miss M Mei

...Family Therapy: A Systemic Integration, 8th Edition  PART 1 THE SYSTEMIC FRAMEWORK   Chapter 1: Two Different Worldviews   The Framework of Individual Psychology   The Framework of Systemic Family Therapy   Basic Concepts of Systems Theory and Cybernetics   Family Therapy or Relationship Therapy?   Summary    Chapter 2: The Historical Perspective   Planting the Seeds: The 1940s   Cybernetics   Development of Interdisciplinary Approaches   Gregory Bateson   Putting Down Roots: The 1950s   Bateson (Continued)    The Double-Bind Hypothesis   Nathan Ackerman   Murray Bowen   Carl Whitaker   Theodore Lidz   Lyman Wynne   Ivan Boszormenyi-Nagy   John Elderkin Bell   Christian F. Midelfort  Overview of the 1950s   The Plant Begins to Bud: The 1960s   Paradigm Shift   The MRI   Salvador Minuchin   Other Developments   Blossom Time: The 1970s   Psychodynamic Approaches   Natural Systems Theory   Experiential Approaches  Structural Approaches   Strategic Approaches   Communication Approaches   Behavioral Approaches   Gregory Bateson   Connecting and Integrating: The 1980s   Other Voices   The Limits of History   Controversy, Conflict, and Beyond: The 1990s   The Feminist Critique   Family Therapy and Family Medicine   Integration and Metaframeworks   Managed Care   The Twenty-First Century: Continuing Concerns and Emerging Trends   Summary   Chapter 3: The Paradigmatic Shift of Systems Theory   A Cybernetic Epistemology   Recursion   ...

Words: 954 - Pages: 4

Free Essay

Overview of Heakth Care Workforce Matrix

...Associate Level Material Appendix B: Overview of Health Care Workforce Matrix Type of Provider & Purpose Job Title Role of Health Care Personnel Office or Hospital Nurse The role of a nurse has changed over the years, and it has become an imperative role to insure proper care for patients. A nurse is not just about bedside manner and changing sheets anymore. Nurses are there to help maintain proper care. Nurses are trained and can plan, set-up care, access illnesses or injuries, and recognize what type of care a patient needs without a physician's supervision. There are many types of nurses such as Nurse Practitioner, Registered Nurse, and Licensed Practical Nurses. They administer medicine, blood drawls for lab work, and also hands on care for the patient. Nurses also help in emergency care for patients and also assist doctors in surgery. Nurses are a vital part of the care of patients at hospitals and many other medical facilities and settings. Therapy Provider Physical Therapist Physical Therapists are a crucial role in helping people recover from surgery or other injuries due to accidents or sports injuries. A Physical Therapist has to get a degree that specializes in the evaluation and care of different diagnoses that affect the physical abilities of a person before they can practice any care. A Physical Therapist works on helping patients recover their strength, balance, coordination, and much more physical mobility attributes. After a physical...

Words: 560 - Pages: 3

Premium Essay

John's Hopkins

...hospitals for patient care. The architecture of the hospital of the hospital has grown from one to “37 buildings” occupying 8 or more acers of land. When the hospital started up, it only had a little more than 200 beds, but in the 90s the bed numbers grew significantly to over 1,000 beds for patients to get the special care they need from the hospitals skilled physician and nurses. In 1992, Johns Hopkins hospital built a facility for its patients who aren’t staying twenty four hours. Johns Hopkins hospital outpatient is “one of the largest facilities of its kind on the east coast, the outpatient center has 191 patient exam rooms, 68 procedure rooms, 28 radiology imaging rooms, 12 blood-drawing stations, and eight operating rooms” (Hopkins Medicine). In the late 90s, the hospital dedicated two buildings for the research and treatment for the non-curable disease, cancer. Not only did they grow in size, but it also grew in patients and employees. Johns Hopkins Hospital had an estimated 3,000 or more employees, including doctors and nurses. The hospital received close to 700,000 inpatient and outpatients a year in...

Words: 1503 - Pages: 7

Premium Essay

What Is Social Psychology?

...each branch focusing on its own perspective of human thought and behavior. Social psychology spotlights human behavior as it relates to social interactions, influences, and relationships. It seeks to understand why people in society behave the way they do with each other and to determine the cause of societal conformities, beliefs, and trends. The following paper provides an overview of social psychology; its definition, how it differs from other branches, and the role of research in the discipline. Social Psychology Defined Social psychology is defined as "the scientific study of how people think about, influence, and relate to each other" (Myers, 2010). The main concepts studied within the field of social psychology include social thinking, influence, and relations. Social thinking encompasses how people perceive themselves and others, their attitudes, beliefs, and judgments. Social influences encompasses how culture, social situations, groups of people, and the accompanying temperaments manipulates behavior. Finally, social relations refers to how relationships (attraction, intimacy, family), feelings toward others (prejudice, hostility, kindness), and biology relate to behavior (Myers, 2010). Social Psychology Differs From Other Disciplines Social psychology differs from other related fields in a multiple ways. First, social psychologists  do not treat people suffering from mental illness. Secondly, the focus of social psychology is on individuals...

Words: 769 - Pages: 4

Premium Essay

Heritage Assessment

...education and technology, there has been an increase in the awareness of how beliefs, values, religion, language, and other socioeconomic factors affects healthcare promotions and quest for seeking medical treatment (Green & Reinckens, 2013, p. 16). In other to achieve the health promotion process as outlined by World Health Organization, we will have to perfect our application of cultural competency to health care and hence the heritage assessment tool. Using information obtained from three families, this paper will analyze the importance of using the heritage assessment tool in assessing, evaluate, and compare their cultural beliefs, and how they subscribe to them and then develop health plans that lead to holistic care. Usefulness of Applying a Heritage Assessment in Evaluating the Needs of the Whole Person Heritage Assessment Tool represents a complete overview of a person’s way of living. It encompasses a person’s history, system of worship, relationship to the immediate and extended family and the participation in religious and cultural of his people. It is used to assess a person cultural heritage with the view of evaluating their health promotion, maintenance, and restoration. According to (Berman et al,. 2008, p. 322) “it is designed to augment a process in order to determine if clients are identifying with their tradition cultural heritage or if they...

Words: 1532 - Pages: 7

Free Essay

Skin Cancer

...online library through the college to ensure the information I received was valid. All articles used for this research are peer reviewed to provide confirmed information from recognized researchers within the field. Additionally, the articles chosen were all published within the past three years to eliminate the use of any out of date information. “Monitor your moles to guard against potentially deadly melanoma,” was used for the statistics it provided regarding cancer rates and who is found to be most susceptible to skin cancer. “Medicine; A Closer Look; Skin cancer takes many forms,” provided additional statistics as well as valuable information on differentiating from melanoma to non-melanoma carcinoma as well as diagnostic procedures. “Skin cancer: an overview of assessment and management” proved to be an extremely helpful article which described the various stages of melanoma as well as advanced treatment options. Finally, “Human biology: concepts and current issues” was utilized to provide much of the background and explanation of how the skin works and how skin cancer originates. In many...

Words: 1398 - Pages: 6

Free Essay

Family Therapy

...Family therapy is a type of psychological counseling that helps family members improve communication and resolve conflicts. Family therapy is usually provided by a psychologist, clinical social worker or licensed therapist. With family therapy it may include all of the family members and anyone that is willing to participate. It caters to your specific therapy plan and often short term. Family therapy sessions will deepen the family connections by teaching all the family members skills to get through the stressful times, even after completing therapy. In this research paper this articles presents and illustrates historical underpinnings, key concepts therapeutic process of treatment, multicultural perspective and criticisms of evidence based treatment of family therapy. Family therapy was formed in the 1950’s due the clinicians and Theoretician who were in the lead of those experimenting with the treating family members conjointly were motivated by several factors according to Florence w. Kaslow. PhD is in Inependent Practice as a Life & Executive coach. Kaslow states that the first factor was because the leaders of experiment were disconnected by the slow progress made when doing individual psychoanalysis or psychotherapy. She states the second factor is that they recognized that the changes in the patient and his/her attitudes and behaviors could have a strong impact on other family members, and that if significant others had no one with whom to explore what was transpiring...

Words: 826 - Pages: 4

Premium Essay

Watson's Theory of Human Caring

...Throughout each nurse’s career, many theories and models have directed the individual practices throughout every specific field of nursing. One of the theories that not only directs a nurse’s practice, but also continues to be a positive influence to the practice is Watson’s theory of human caring. The utilization of Watson’s theory of human caring is extremely relevant within the critical care arena, specifically because of the high acuity of the patient population. The practical application of this theory is explored utilizing several important elements to describe a personal interaction between the patient populations. The Caring Moment Defined Watson (2012) defines the caring moment as, “An actual caring moment occasion involves action and choice both by the nurse and the individual. The moment of coming together in a caring moment occasion presents the two persons with the opportunity to decide how to be in the relationship—what to do with the moment” (p. 71). She further explains that if the moment is spiritual then the chance of openness can occur, making the relationship limitless (Watson, 2012). The successfulness of a caring moment allows the human to human interaction to occur, regardless of the personal and social backgrounds of the participants. In each interaction, the participants display different feelings, thoughts, expectations, spiritual beliefs, environmental respects and individual implications. The historical situations that precede the interaction...

Words: 2029 - Pages: 9

Free Essay

Emotional Intelligence and Health

...2014 Health and Emotional Intelligence Ankur Parey 13HS60021 3/5/2014 Table of Contents Introduction ........................................................................................................... 3 Overview of Emotional Intelligence ....................................................................... 3 Behaviors and outcomes ........................................................................................ 4 EQ in healthcare .................................................................................................... 4 Healthcare emotional intelligence ......................................................................... 4 Training implications .............................................................................................. 5 Training and Health Care ....................................................................................... 6 The physician and emotional intelligence .............................................................. 7 Conclusion ............................................................................................................. 8 Introduction There is a renewed interest in healthcare, in the role of Emotional Intelligence — a set of behavioral competencies, distinct from traditional IQ, that impact performance. There is also a growing body of evidence that individual behaviors, including EQ, influence patient outcomes and organizational success. What is EQ? How does it apply to healthcare...

Words: 2724 - Pages: 11