Free Essay

General 52

In:

Submitted By jubjang121
Words 12408
Pages 50
หลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2552)
จุดมุงหมาย เพื่อใหนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตรมีความรู มีทัศนะกวางขวางรอบตัว สามารถเขาใจถึงสถานภาพของ ตัวบุคคล ที่เกี่ยวของสัมพันธกับสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ สภาพแวดลอมทางสังคมและวัฒนธรรมและเพื่อให นักศึกษาสามารถตระหนักถึงความสัมพันธเกี่ยวโยงของวิทยาการทั้งหลาย ทั้งในทางสาขาวิทยาศาสตร สังคมศาสตร มนุษยศาสตร และภาษา ทั้งนี้ เพื่อใหเปนปจจัยเสริมสรางทางปญญา ความคิด คุณธรรม และวิจารณญาณสวนบุคคล อันจะเปนคุณประโยชนแกนักศึกษาทั้งในดานของการศึกษาในระดับสูงขึ้นไป และในดานของการนําไปประยุกตใช กับการดํารงชีวิตใหมีคุณภาพและประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โครงสรางของหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป พ.ศ. 2552 นักศึกษาตองศึกษาวิชาในหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไปรวมแลวไมนอยกวา 30 หนวยกิต ตามโครงสรางและ องคประกอบของหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไปซึ่งแบงเปน 2 สวน คือ สวนที่ 1 เปนหลักสูตรกลางของมหาวิทยาลัยที่กําหนดใหนักศึกษาทุกคนตองเรียนจํานวน 21 หนวยกิต ดังตอไปนี้ - หมวดมนุษยศาสตร บังคับ 1 วิชา 3 หนวยกิต - หมวดสังคมศาสตร บังคับ 1 วิชา 3 หนวยกิต - หมวดวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร 2 วิชา 6 หนวยกิต วิทยาศาสตร บังคับ 1 วิชา 3 หนวยกิต คณิตศาสตรหรือคอมพิวเตอร บังคับเลือก 1 วิชา 3 หนวยกิต - หมวดภาษา 3 วิชา 9 หนวยกิต ภาษาไทย บังคับ 1 วิชา 3 หนวยกิต ภาษาตางประเทศ บังคับ 1 ภาษา 2 วิชา 6 หนวยกิต สวนที่ 2 เปนหลักสูตรของคณะ จํานวนไมนอยกวา 9 หนวยกิต รายละเอียดโปรดดูขอกําหนดหลักสูตรสวนนี้ของแตละคณะ รายวิชาในหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 1 1 วิชา - หมวดมนุษยศาสตร บังคับ มธ.110 สหวิทยาการมนุษยศาสตร - หมวดสังคมศาสตร บังคับ 1 วิชา มธ.120 สหวิทยาการสังคมศาสตร - หมวดวิทยาศาสตรกับคณิตศาสตร วิทยาศาสตร บังคับ 1 วิชา มธ.130 สหวิทยาการวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

(3 หนวยกิต) (3 หนวยกิต)

(3 หนวยกิต)

2
คณิตศาสตรหรือคอมพิวเตอร บังคับเลือก 1 วิชา 3 หนวยกิต จากวิชาตอไปนี้ มธ.151 คณิตศาสตรทั่วไประดับมหาวิทยาลัย (3 หนวยกิต) มธ.152 หลักพื้นฐานทางคณิตศาสตร (3 หนวยกิต) มธ.153 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร (3 หนวยกิต) มธ.154 รากฐานคณิตศาสตร (3 หนวยกิต) มธ.155 สถิติพื้นฐาน (3 หนวยกิต) มธ.156 คอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมเบื้องตน (3 หนวยกิต) (บางคณะ/สาขาวิชาอาจกําหนดใหนักศึกษาเรียนวิชาหมวดคณิตศาสตรหรือคอมพิวเตอรวิชาใดวิชา หนึ่ง โปรดดูรายละเอียดตามที่ระบุไวในขอกําหนดหลักสูตรของคณะประกอบ) - หมวดภาษา รวม 3 วิชา ภาษาไทย บังคับ 1 วิชา 3 หนวยกิต ท.161 การใชภาษาไทย (3 หนวยกิต) หรือ ท.160 ภาษาไทยเบื้องตน (3 หนวยกิต) กรณีนักศึกษาชาวตางประเทศ หรือนักศึกษาไทยที่ไมมีความรูภาษาไทยหรือมีความรูภาษาไทยนอย มากจนไมสามารถสื่อสารดวยภาษาไทยได คณะ/สาขาวิชาตาง ๆ อาจกําหนดใหนักศึกษาที่มีคุณสมบัติดังกลาวศึกษา วิชา ท.160 ภาษาไทยเบื้องตน แทนวิชา ท.161 การใชภาษาไทย ได ภาษาตางประเทศ บังคับ 1 ภาษา 2 วิชา (บางคณะ/สาขาวิชาอาจกําหนดใหนักศึกษาเลือกเรียนภาษาใดภาษาหนึ่งโปรดดูรายละเอียดหลักสูตร ของคณะประกอบ) ภาษาอังกฤษ สษ.070 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 1 (สําหรับผูที่มีพื้นความรูยังไมถึง สษ.171) ไมนับหนวยกิต สษ.171 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 2 (3 หนวยกิต) สษ.172 ภาษาอังกฤษพื้นฐาน 3 (3 หนวยกิต) ภาษาจีน จน.171 ภาษาจีน 1 (3 หนวยกิต) จน.172 ภาษาจีน 2 (3 หนวยกิต) ภาษาฝรั่งเศส ฝ.171 ภาษาฝรั่งเศส 1 (3 หนวยกิต) ฝ.172 ภาษาฝรั่งเศส 2 (3 หนวยกิต) ภาษาญี่ปุน ญ.171 ภาษาญี่ปุน 1 (3 หนวยกิต) ญ.172 ภาษาญี่ปุน 2 (3 หนวยกิต)

3
ภาษารัสเซีย รซ.171 ภาษารัสเซีย 1 รซ.172 ภาษารัสเซีย 2 ภาษาเยอรมัน - สําหรับผูที่ไมเคยเรียนภาษาเยอรมันมากอน ย.171 ภาษาเยอรมัน 1 ย.172 ภาษาเยอรมัน 2 - สําหรับผูที่เคยเรียนมาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ย.211 ภาษาเยอรมัน 3 ย.212 ภาษาเยอรมัน 4 ภาษาเกาหลี กล.171 ภาษาเกาหลี 1 กล.172 ภาษาเกาหลี 2 (3 หนวยกิต) (3 หนวยกิต)

(3 หนวยกิต) (3 หนวยกิต) (3 หนวยกิต) (3 หนวยกิต) (3 หนวยกิต) (3 หนวยกิต)

รายวิชาในหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 2 รายวิชาที่คณะตาง ๆ สามารถนําไปกําหนดไวในหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 2 แบงไดเปน 5 กลุมดังนี้ 1. วิชาบูรณาการในหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไปเดิม 1.1 หมวดมนุษยศาสตร มธ.111 ประเทศไทย ในมิติทางประวัติศาสตร สังคม และวัฒนธรรม (3 หนวยกิต) มธ.112 มรดกโลกกอนสมัยใหม (3 หนวยกิต) มธ.113 ความรูพื้นฐานทางปรัชญาและศาสนา (3 หนวยกิต) มธ.115 มนุษยกับผลงานสรางสรรคดานวรรณกรรม (3 หนวยกิต) มธ.116 มนุษยกับศิลปะ ทัศนศิลป ดนตรี และศิลปะการแสดง (3 หนวยกิต) มธ.117 พัฒนาการของโลกสมัยใหม (3 หนวยกิต) มธ.118 ภูมิทัศนวัฒนธรรมไทย (3 หนวยกิต) 1.2 หมวดสังคมศาสตร มธ.121 มนุษยกับสังคม (3 หนวยกิต) มธ.122 กฎหมายในชีวิตประจําวัน (3 หนวยกิต) มธ.124 สังคมกับเศรษฐกิจ (3 หนวยกิต) 1.3 หมวดวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มธ.131 มนุษยกับวิทยาศาสตรกายภาพ (3 หนวยกิต) มธ.142 มนุษยกับวิทยาศาสตรชีวภาพ (3 หนวยกิต) มธ.143 มนุษยกับสิ่งแวดลอม (3 หนวยกิต) วค106 ความยั่งยืนทางทรัพยากรธรรมชาติและพลังงาน (3 หนวยกิต)

4
คณิตศาสตร นอกเหนือจากวิชาที่คณะกําหนดใหนักศึกษาศึกษาเปนวิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 1 แลว คณะอาจเลือกวิชา ที่เหลือ 6 วิชา และนํามากําหนดเปนวิชาบังคับ/วิชาบังคับเลือกในวิชาศึกษาทั่วไปในสวนที่ 2 เพื่อใหนักศึกษาเรียนก็ได มธ.151 คณิตศาสตรทั่วไประดับมหาวิทยาลัย (3 หนวยกิต) มธ.152 หลักพื้นฐานทางคณิตศาสตร (3 หนวยกิต) มธ.153 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร (3 หนวยกิต) มธ.154 รากฐานคณิตศาสตร (3 หนวยกิต) มธ.155 สถิติพื้นฐาน (3 หนวยกิต) มธ.156 คอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมเบื้องตน (3 หนวยกิต) วท.142 คณิตศาสตรสําหรับวิทยาศาสตร (3 หนวยกิต) 1.4 หมวดภาษา ภาษาไทย ท.162 การเขียนรายงานวิชาการ (3 หนวยกิต) ท.163 การเขียนเพื่อการสื่อสารในองคกร (3 หนวยกิต) ภาษาตางประเทศ นักศึกษาอาจเลือกศึกษาภาษาตางประเทศเพิ่มเติมมากกวา 1 ภาษา ( 2 วิชา 6 หนวยกิต) ตามที่คณะ กําหนดไว เปนวิชาวิชาศึกษาทั่วไป สวนที่ 2 ภาษาจีน จน.171 ภาษาจีน 1 (3 หนวยกิต) จน.172 ภาษาจีน 2 (3 หนวยกิต) ภาษาฝรั่งเศส ฝ.171 ภาษาฝรั่งเศส 1 (3 หนวยกิต) ฝ.172 ภาษาฝรั่งเศส 2 (3 หนวยกิต) ภาษาญี่ปุน (3 หนวยกิต) ญ.171 ภาษาญี่ปุน 1 ญ.172 ภาษาญี่ปุน 2 (3 หนวยกิต) ภาษารัสเซีย รซ.171 ภาษารัสเซีย 1 (3 หนวยกิต) รซ.172 ภาษารัสเซีย 2 (3 หนวยกิต) ภาษาเยอรมัน - สําหรับผูที่ไมเคยเรียนภาษาเยอรมันมากอน ย.171 ภาษาเยอรมัน 1 (3 หนวยกิต) ย.172 ภาษาเยอรมัน 2 (3 หนวยกิต)

5
- สําหรับผูที่เคยเรียนมาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ย.211 ภาษาเยอรมัน 3 ย.212 ภาษาเยอรมัน 4 ภาษาเกาหลี กล.171 ภาษาเกาหลี 1 กล.172 ภาษาเกาหลี 2 1.5 หมวดพลานามัย นักศึกษาจะสามารถศึกษาวิชาในหมวดนี้เปนวิชาศึกษาทั่วไป สวนที่ 2 ตองศึกษาวิชา พล.101 ควบคูกับวิชาอื่นๆ อีก 1 วิชา พล.101 สุขภาพและการออกกําลังกายเพื่อคุณภาพชีวิต พล.102 แอโรบิกเพื่อสุขภาพ พล.103 โยคะเพื่อสุขภาพ พล.104 การเสริมสรางสรีระและสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ พล.105 ศิลปะปองกันตัว พล.106 นันทนาการ พล.107 การเจริญสติและฝกสมาธิ พล.108 วายน้ํา พล.109 กรีฑา พล.110 เทนนิส พล.111 แบดมินตัน พล.112 ฟุตบอล พล.113 บาสเกตบอล พล.114 ลีลาศ พล.115 จักรยาน ขอกําหนดหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 2 ของคณะตาง ๆ 1. คณะนิติศาสตร เลือกศึกษา 3 วิชา จากรายวิชาดังตอไปนี้ มธ. 111 ประเทศไทย ในมิติทางประวัติศาสตร สังคม และวัฒนธรรม มธ. 112 มรดกโลกกอนสมัยใหม มธ. 113 ความรูพื้นฐานทางปรัชญาและศาสนา มธ. 117 พัฒนาการของโลกสมัยใหม จ. 211 จิตวิทยาทั่วไป จ. 228 จิตวิทยาความสัมพันธระหวางบุคคล พบ. 291 ธุรกิจเบื้องตน (3 หนวยกิต) (3 หนวยกิต) (3 หนวยกิต) (3 หนวยกิต) ไดไมเกิน 3 หนวยกิต โดย (2 หนวยกิต) (1 หนวยกิต) (1 หนวยกิต) (1 หนวยกิต) (1 หนวยกิต) (1 หนวยกิต) (1 หนวยกิต) (1 หนวยกิต) (1 หนวยกิต) (1 หนวยกิต) (1 หนวยกิต) (1 หนวยกิต) (1 หนวยกิต) (1 หนวยกิต) (1 หนวยกิต)

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

6
ศ. 210 น. 150 เศรษฐศาสตรเบื้องตน สิทธิขั้นพื้นฐาน 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

2. คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี (ทุกสาขาวิชา ยกเวนสาขาวิชาการบัญชี (บูรณาการ) และสาขาวิชาการจัดการ แบบบูรณาการ) บังคับ 2 วิชา 6 หนวยกิต อ.221 การอานเชิงวิเคราะหขอมูล 3 หนวยกิต อ.241 การฟง – การพูด 1 3 หนวยกิต เลือก 1 วิชา 3 หนวยกิต จากวิชาศึกษาทั่วไป สวนที่ 2 ยกเวน รายวิชาในหมวดวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร และวิชา พบ.291 ธุรกิจเบื้องตน 3. คณะรัฐศาสตร (ทุกสาขาวิชา) บังคับ 2 วิชา 6 หนวยกิต มธ. 122 กฎหมายในชีวิตประจําวัน มธ. 124 สังคมกับเศรษฐกิจ เลือก 1 วิชา 3 หนวยกิต จากรายวิชาดังตอไปนี้ มธ. 111 ประเทศไทย ในมิติทางประวัติศาสตร สังคม และวัฒนธรรม มธ. 113 ความรูพื้นฐานทางปรัชญาและศาสนา มธ. 143 มนุษยกับสิ่งแวดลอม

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

4. คณะเศรษฐศาสตร เลือก 3 วิชา 9 หนวยกิต จากวิชาศึกษาทั่วไปสวนที่สองของมหาวิทยาลัย หรือวิชาเบื้องตนอื่นๆ ที่คณะตางๆ เสนอ และ มหาวิทยาลัยเทียบใหเทากับวิชาศึกษาทั่วไปสวนที่สอง 5. คณะสังคมสงเคราะหศาสตร บังคับ 3 วิชา 9 หนวยกิต มธ. 113 ความรูพื้นฐานทางปรัชญาและศาสนา มธ. 121 มนุษยกับสังคม มธ. 122 กฎหมายในชีวิตประจําวัน

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

6. คณะศิลปศาสตร (ทุกสาขาวิชา ยกเวนสาขาวิชาประวัติศาสตร สาขาวิชาจิตวิทยา สาขาวิชาเอเชียตะวันออกเฉียงใต ศึกษา สาขาวิชารัสเซียศึกษา สาขาวิชาการสื่อสารภาษาอังกฤษเชิงธุรกิจ และสาขาวิชาอังกฤษ-อเมริกันศึกษา) บังคับ 1 วิชา 3 หนวยกิต ท. 162 การเขียนรายงานวิชาการ 3 หนวยกิต เลือก 2 วิชา 6 หนวยกิต จากรายวิชาที่เปดสอนในหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 2 รวมทังวิชา จ. 211 จิตวิทยาทั่วไป ้

7
สาขาวิชาประวัติศาสตร บังคับ 3 วิชา 9 หนวยกิต ท. 162 การเขียนรายงานวิชาการ มธ. 112 มรดกโลกกอนสมัยใหม มธ. 117 พัฒนาการของโลกสมัยใหม สาขาวิชาจิตวิทยา บังคับ 2 วิชา 6 หนวยกิต ท. 162 การเขียนรายงานวิชาการ จ. 211 จิตวิทยาทั่วไป เลือก 1 วิชา 3 หนวยกิต จากรายวิชาที่เปดสอนในหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 2 สาขาวิชาเอเชียตะวันออกเฉียงใตศึกษา บังคับ 3 วิชา 9 หนวยกิต ท. 162 การเขียนรายงานวิชาการ มธ. 112 มรดกโลกกอนสมัยใหม มธ. 117 พัฒนาการของโลกสมัยใหม สาขาวิชารัสเซียศึกษา บังคับ 1 วิชา 3 หนวยกิต ท. 162 การเขียนรายงานวิชาการ เลือก 2 วิชา 6 หนวยกิต จากรายวิชาดังตอไปนี้ มธ. 111 ประเทศไทย ในมิตทางประวัติศาสตร สังคม และวัฒนธรรม ิ มธ. 112 มรดกโลกกอนสมัยใหม มธ. 113 ความรูพื้นฐานทางปรัชญาและศาสนา มธ. 115 มนุษยกับผลงานสรางสรรคดานวรรณกรรม มธ. 116 มนุษยกับศิลปะ ทัศนศิลป ดนตรี และศิลปะการแสดง มธ. 117 พัฒนาการของโลกสมัยใหม มธ. 118 ภูมิทัศนวัฒนธรรมไทย มธ. 121 มนุษยกับสังคม มธ. 122 กฎหมายในชีวิตประจําวัน มธ. 124 สังคมกับเศรษฐกิจ จ. 211 จิตวิทยาทั่วไป

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

8
สาขาวิชาการสื่อสารภาษาอังกฤษเชิงธุรกิจ เลือก 3 วิชา 9 หนวยกิต จากรายวิชาดังตอไปนี้ มธ. 111 ประเทศไทย ในมิติทางประวัติศาสตร สังคม และวัฒนธรรม มธ. 112 มรดกโลกกอนสมัยใหม มธ. 115 มนุษยกบผลงานสรางสรรคดานวรรณกรรม ั มธ. 116 มนุษยกบศิลปะ ทัศนศิลป ดนตรี และศิลปะการแสดง ั มธ. 117 พัฒนาการของโลกสมัยใหม มธ. 124 สังคมกับเศรษฐกิจ

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

สาขาวิชาอังกฤษ-อเมริกันศึกษา เลือก 3 วิชา 9 หนวยกิต จากรายวิชาในหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 2 หมวดมนุษยศาสตร หมวดสังคมศาสตร หมวดวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร รวมทั้งวิชา จ. 211 จิตวิทยาทั่วไป 7. คณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน บังคับ 3 วิชา 9 หนวยกิต มธ. 122 กฎหมายในชีวิตประจําวัน ศ. 210 เศรษฐศาสตรเบื้องตน จ. 211 จิตวิทยาทั่วไป 8. คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา บังคับ 1 วิชา 3 หนวยกิต ท. 162 การเขียนรายงานวิชาการ 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

เลือก 2 วิชา 6 หนวยกิต จากวิชาใดก็ไดที่เปดสอนเปนวิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 2 ทั้งนี้ ยกเวนวิชา จ.211 จิตวิทยาทั่วไป ในกรณี ที่ นั ก ศึ ก ษาไม ไ ด เ ลื อ กเรี ย นวิ ช า มธ. 153 ความรู ทั่ ว ไปเกี่ ย วกั บ คอมพิ ว เตอร จากหมวดวิ ท ยาศาสตร กั บ คณิตศาสตรของหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 1 ขอใหนักศึกษาเลือกเรียน มธ. 153 ในกลุมนี้ 9. คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี นักศึกษาคณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จะตองศึกษาหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 2 จํานวน 3 วิชา 9 หนวยกิต ตามเงื่อนไขและรายวิชาตาง ๆ ที่แตละสาขาวิชากําหนดไวดังตอไปนี้ (โปรดดูรายละเอียดในหลักสูตรของ คณะวิทยาศาสตรฯ) สาขาวิชาวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม บังคับ 2 วิชา 6 หนวยกิต มธ. 155 สถิติพื้นฐาน สษ. 296 ภาษาอังกฤษเพือจุดประสงคทางวิชาการ 1 ่ เลือก 1 วิชา 3 หนวยกิต จากรายวิชาดังตอไปนี้ พบ. 291 ธุรกิจเบื้องตน ทอ. 201 หลักการบริหาร

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

9
ศ. 210 เศรษฐศาสตรเบื้องตน จ. 228 จิตวิทยาความสัมพันธระหวางบุคคล สษ. 396 ภาษาอังกฤษเพือจุดประสงคทางวิชาการ 2 ่ สาขาวิชาเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนายั่งยืน บังคับ 2 วิชา 6 หนวยกิต มธ. 155 สถิติพื้นฐาน ศ. 210 เศรษฐศาสตรเบื้องตน เลือก 1 วิชา 3 หนวยกิต จากรายวิชาดังตอไปนี้ พบ. 291 ธุรกิจเบื้องตน จ. 228 จิตวิทยาความสัมพันธระหวางบุคคล สษ. 296 ภาษาอังกฤษเพือจุดประสงคทางวิชาการ 1 ่ 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

สาขาวิชาเทคโนโลยีการเกษตร บังคับ 1 วิชา 3 หนวยกิต สษ. 296 ภาษาอังกฤษเพือจุดประสงคทางวิชาการ 1 ่ 3 หนวยกิต เลือก 2 วิชา 6 หนวยกิต จากรายวิชาดังตอไปนี้ มธ. 116 มนุษยกบศิลปะ ทัศนศิลป ดนตรี และศิลปะการแสดง ั 3 หนวยกิต มธ. 122 กฎหมายในชีวิตประจําวัน 3 หนวยกิต มธ. 124 สังคมกับเศรษฐกิจ 3 หนวยกิต มธ. 143 มนุษยกับสิ่งแวดลอม 3 หนวยกิต มธ. 156 คอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมเบื้องตน 3 หนวยกิต สษ. 396 ภาษาอังกฤษเพือจุดประสงคทางวิชาการ 2 ่ 3 หนวยกิต และหมวดวิชาพลานามัย โดยเลือกไดไมเกิน 3 หนวยกิต โดยตองศึกษาวิชา พล.101 ควบคูกับวิชาอื่นๆ อีก 1 วิชา สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร บังคับ 2 วิชา 6 หนวยกิต จ. 228 จิตวิทยาความสัมพันธระหวางบุคคล สษ. 295 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 1 เลือก 1 วิชา 3 หนวยกิต จากรายวิชาดังตอไปนี้ มธ. 122 กฎหมายในชีวิตประจําวัน พบ. 291 ธุรกิจเบื้องตน ทอ. 201 หลักการบริหาร ศ. 210 เศรษฐศาสตรเบื้องตน

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

10
สาขาวิชาคณิตศาสตรประยุกต บังคับ 2 วิชา 6 หนวยกิต ศ. 210 เศรษฐศาสตรเบื้องตน จ. 228 จิตวิทยาความสัมพันธระหวางบุคคล เลือก 1 วิชา 3 หนวยกิต จากรายวิชาดังตอไปนี้ มธ. 122 กฎหมายในชีวิตประจําวัน พบ. 291 ธุรกิจเบื้องตน ทอ. 201 หลักการบริหาร สาขาวิชาคณิตศาสตร บังคับ 2 วิชา 6 หนวยกิต พบ. 291 ธุรกิจเบื้องตน ศ. 210 เศรษฐศาสตรเบื้องตน เลือก 1 วิชา 3 หนวยกิต จากรายวิชาดังตอไปนี้ ทอ. 201 หลักการบริหาร จ. 228 จิตวิทยาความสัมพันธระหวางบุคคล สาขาวิชาสถิติ บังคับ 2 วิชา 6 หนวยกิต พบ. 291 ธุรกิจเบื้องตน ศ. 210 เศรษฐศาสตรเบื้องตน เลือก 1 วิชา 3 หนวยกิต จากรายวิชาดังตอไปนี้ มธ. 122 กฎหมายในชีวิตประจําวัน ทอ. 201 หลักการบริหาร จ. 228 จิตวิทยาความสัมพันธระหวางบุคคล สาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร บังคับ 3 วิชา 9 หนวยกิต มธ. 156 คอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมเบื้องตน ศ. 210 เศรษฐศาสตรเบื้องตน สษ. 296 ภาษาอังกฤษเพือจุดประสงคทางวิชาการ 1 ่ สาขาวิชาเคมี บังคับ 1 วิชา 3 หนวยกิต สษ. 296 ภาษาอังกฤษเพือจุดประสงคทางวิชาการ 1 ่ เลือก 2 วิชา 6 หนวยกิต จากรายวิชาดังตอไปนี้ มธ. 122 กฎหมายในชีวตประจําวัน ิ มธ. 156 คอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมเบื้องตน

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

11
พบ. 291 ทอ. 201 ศ. 210 จ. 228 ธุรกิจเบื้องตน หลักการบริหาร เศรษฐศาสตรเบื้องตน จิตวิทยาความสัมพันธระหวางบุคคล 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ บังคับ 3 วิชา 9 หนวยกิต มธ. 155 สถิติพื้นฐาน สษ. 296 ภาษาอังกฤษเพือจุดประสงคทางวิชาการ 1 ่ สษ. 396 ภาษาอังกฤษเพือจุดประสงคทางวิชาการ 2 ่ สาขาวิชาฟสิกส สาขาวิชาฟสิกสอิเล็กทรอนิกส และสาขาวิชาวัสดุศาสตร บังคับ 2 วิชา 6 หนวยกิต มธ. 156 คอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมเบื้องตน สษ. 296 ภาษาอังกฤษเพือจุดประสงคทางวิชาการ 1 ่ เลือก 1 วิชา 3 หนวยกิต จากรายวิชาดังตอไปนี้ พบ. 291 ธุรกิจเบื้องตน ทอ. 201 หลักการบริหาร ศ. 210 เศรษฐศาสตรเบื้องตน จ. 228 จิตวิทยาความสัมพันธระหวางบุคคล สษ. 396 ภาษาอังกฤษเพือจุดประสงคทางวิชาการ 2 ่ สาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสิ่งทอ บังคับ 2 วิชา 6 หนวยกิต พบ. 291 ธุรกิจเบื้องตน ทอ. 201 หลักการบริหาร เลือก 1 วิชา 3 หนวยกิต จากรายวิชาดังตอไปนี้ มธ. 122 กฎหมายในชีวิตประจําวัน มธ. 156 คอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมเบื้องตน จ. 228 จิตวิทยาความสัมพันธระหวางบุคคล

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

12
10. คณะวิศวกรรมศาสตร (ทุกสาขาวิชา) บังคับ 3 วิชา 7 หนวยกิต วท. 123 เคมีพื้นฐาน วท. 173 ปฏิบัติการเคมีพื้นฐาน สษ. 202 ภาษาอังกฤษสําหรับการทํางาน เลือก 1 วิชา ไมนอยกวา 2 หนวยกิต จากรายวิชาดังตอไปนี้ น. 209 หลักกฎหมายแพงและพาณิชย น. 246 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับทรัพยสินทางปญญา พบ. 291 ธุรกิจเบื้องตน ทอ. 201 หลักการบริหาร ศ. 213 เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน วค. 106 ความยั่งยืนทางทรัพยากรธรรมชาติและพลังงาน วย. 106 เทคนิคในการสื่อสารและการนําเสนอ 11. คณะแพทยศาสตร สาขาวิชาแพทยศาสตร บังคับ 5 วิชา 13 หนวยกิต วท. 142 คณิตศาสตรสําหรับวิทยาศาสตร วท. 136 ฟสิกส สษ. 217 การฟงและการพูดดานวิชาการ สษ. 317 การอานและการเขียนดานวิชาการ พศ. 100 จริยศาสตรพื้นฐาน สาขาวิชาการแพทยแผนไทยประยุกต บังคับ 5 วิชา 11 หนวยกิต วท. 111 ชีววิทยา 1 วท. 123 เคมีพื้นฐาน วท. 136 ฟสิกส วท. 161 ปฏิบัติการชีววิทยา 1 วท. 173 ปฏิบัติการเคมีพื้นฐาน

3 หนวยกิต 1 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 2 หนวยกิต

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 1หนวยกิต

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 1 หนวยกิต 1หนวยกิต

13
12. คณะสหเวชศาสตร สาขาวิชาเทคนิคการแพทย บังคับ 3 วิชา 9 หนวยกิต มธ. 155 สถิติพื้นฐาน พบ. 291 ธุรกิจเบื้องตน จ. 211 จิตวิทยาทั่วไป สาขาวิชากายภาพบําบัด บังคับ 3 วิชา 9 หนวยกิต มธ. 155 สถิติพื้นฐาน พบ. 291 ธุรกิจเบื้องตน จ. 211 จิตวิทยาทั่วไป 13. คณะทันตแพทยศาสตร บังคับ 7 วิชา 15 หนวยกิต วท. 142 คณิตศาสตรสําหรับวิทยาศาสตร วท. 114 ชีววิทยา วท. 128 เคมีสําหรับวิทยาศาสตรการแพทย วท. 178 ปฏิบัติการเคมีสําหรับวิทยาศาสตรการแพทย วท. 136 ฟสิกส วท. 186 ปฏิบัติการฟสิกส พศ. 100 จริยศาสตรพื้นฐาน 14. คณะพยาบาลศาสตร บังคับ 4 วิชา 10 หนวยกิต มธ. 155 สถิติพื้นฐาน วท. 136 ฟสิกส วท. 186 ปฏิบัติการฟสิกส จ. 211 จิตวิทยาทั่วไป

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 1 หนวยกิต 3 หนวยกิต 1 หนวยกิต 1 หนวยกิต

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 1 หนวยกิต 3 หนวยกิต

14
15. คณะศิลปกรรมศาสตร (ทุกสาขาวิชา) เลือก 2 วิชา 6 หนวยกิต จากรายวิชาดังตอไปนี้ มธ. 111 ประเทศไทย ในมิติทางประวัติศาสตร สังคม และวัฒนธรรม 3 หนวยกิต มธ. 113 ความรูพื้นฐานทางปรัชญาและศาสนา 3 หนวยกิต มธ. 115 มนุษยกับผลงานสรางสรรคดานวรรณกรรม 3 หนวยกิต มธ. 116 มนุษยกับศิลปะ ทัศนศิลป ดนตรี และศิลปะการแสดง 3 หนวยกิต เลือก 1 วิชา 3 หนวยกิต จากรายวิชาในหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 2 หมวดพลานามัย และจากรายวิชาดังตอไปนี้ มธ. 118 ภูมิทัศนวัฒนธรรมไทย 3 หนวยกิต มธ. 143 มนุษยกับสิ่งแวดลอม 3 หนวยกิต 16. คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง สาขาวิชาสถาปตยกรรม และสาขาวิชาสถาปตยกรรมภายใน บังคับ 3 วิชา 9 หนวยกิต สผ. 162 ฟสิกสประยุกตสําหรับสิ่งแวดลอมสรรคสราง สผ. 163 ประวัติศาสตรศิลปะ สผ. 164 เศรษฐศาสตรสาหรับสิ่งแวดลอมสรรคสราง ํ สาขาวิชาการผังเมือง บังคับ 1 วิชา 3 หนวยกิต ผม. 103 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการวางแผน เลือก 1 วิชา 3 หนวยกิต จากรายวิชาดังตอไปนี้ มธ. 111 ประเทศไทย ในมิติทางประวัติศาสตร สังคม และวัฒนธรรม มธ. 112 มรดกโลกกอนสมัยใหม มธ. 117 พัฒนาการของโลกสมัยใหม เลือก 1 วิชา 3 หนวยกิต จากรายวิชาดังตอไปนี้ มธ. 122 กฎหมายในชีวิตประจําวัน ศ. 210 เศรษฐศาสตรเบื้องตน ทอ. 201 หลักการบริหาร สผ. 164 เศรษฐศาสตรสาหรับสิ่งแวดลอมสรรคสราง ํ สาขาวิชาภูมสถาปตยกรรมศาสตร ิ บังคับ 3 วิชา 9 หนวยกิต มธ. 142 มนุษยกับวิทยาศาสตรชีวภาพ สผ. 163 ประวัติศาสตรศิลปะ สผ. 164 เศรษฐศาสตรสาหรับสิ่งแวดลอมสรรคสราง ํ

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

15
17. คณะสาธารณสุขศาสตร สาขาวิชาสถาปตยกรรม และสาขาวิชาสถาปตยกรรมภายใน บังคับ 3 วิชา 9 หนวยกิต มธ. 155 สถิติพื้นฐาน จ. 211 จิตวิทยาทั่วไป สษ. 296 ภาษาอังกฤษเพือจุดประสงคทางวิชาการ 1 ่ 18. วิทยาลัยสหวิทยาการ สาขาวิชาสหวิทยาการสังคมศาสตร บังคับ 1 วิชา 3 หนวยกิต ท. 162 การเขียนรายงานวิชาการ เลือก 2 วิชา 6 หนวยกิต จากรายวิชาดังตอไปนี้ มธ. 111 ประเทศไทย ในมิติทางประวัติศาสตร สังคม และวัฒนธรรม มธ. 116 มนุษยกบศิลปะ ทัศนศิลป ดนตรี และศิลปะการแสดง ั มธ. 117 พัฒนาการของโลกสมัยใหม มธ. 121 มนุษยกบสังคม ั มธ. 122 กฎหมายในชีวิตประจําวัน มธ. 124 สังคมกับเศรษฐกิจ มธ. 143 มนุษยกับสิ่งแวดลอม มธ. 156 คอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมเบื้องตน

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต 3 หนวยกิต

ขอกําหนดทั่วไปเรื่องหลักสูตร 1. หลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป นักศึ กษาจะศึ กษาวิชาศึก ษาทั่วไปโดยนํา หน วยกิ ตมานับไดไ มเกิ น 21 หนว ยกิต สํา หรับหลัก สูต ร สวนที่ 1 และไมเกิน 9 หนวยกิต หรือไมเกินจํานวนหนวยกิตที่คณะของตนกําหนดใหศึกษาสําหรับหลักสูตรสวนที่ 2 2. จากการที่ หลั กสู ตรวิ ชาศึก ษาทั่ว ไปกําหนดให นัก ศึก ษาศึกษาภาษาต างประเทศเพี ยง 1 ภาษา (2 วิช า 6 หนวยกิต) หากนักศึกษามีความประสงคจะเลือกศึกษามากกวา 1 ภาษา ก็สามารถศึกษาได แตจะนับหนวยกิตได หรือไมนั้น ขึ้นอยูกับวาคณะไดกําหนดวิชาภาษาตางประเทศเปนหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 2 ของคณะ หรือ กําหนดใหศึกษาเปนวิชาเลือกเสรีของคณะ/สาขาวิชาไดหรือไม 3. นักศึกษาจะนําวิชาเหลานี้มานับเปนวิชาเลือกเสรีไมได 3.1 วิชาศึกษาทั่วไปยกเวนวิชาภาษาตางประเทศภาษาที่ 2 ซึ่งบางคณะอาจกําหนดใหนักศึกษาศึกษาเปน วิชาเลือกเสรีได (โปรดดูหลักสูตรของคณะในสวนของวิชาเลือกเสรี) 3.2 วิชาในหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไปทั้งสวนที่ 1 และสวนที่ 2 ที่ใชรหัสยอ "มธ." ทุกวิชา (โปรดดู รายละเอียดเพิ่มเติมจากตารางแสดงรายวิชาในหลักสูตรของคณะตาง ๆ ที่สามารถนับวิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 2 เปนวิชา เลือกเสรีได) 3.3 วิชา ท.162 การเขียนรายงานวิชาการ และ ท.163 การเขียนเพื่อการสื่อสารในองคกร

16
4. วิชาเลือก ในกรณีที่โครงสรางหลักสูตรของคณะ/สาขาวิชากําหนด ใหศึกษาวิชาเลือก ใหนักศึกษาเลือกศึกษาจาก วิชาของสาขาวิชาตางๆ ได รวมไมเกิน 4 สาขาวิชา (ไมนับรวม คณะ/สาขาวิชา ที่นักศึกษาเลือกศึกษาเปนวิชาเอก) 5. การนับโครงสรางวิชาโท ในกรณีหลักสูตรของคณะ/สาขาวิชาไมไดกําหนดใหนักศึกษาศึกษาวิชาโท ซึ่งอาจเปนเพราะจํานวน หนวยกิตที่กําหนดไวไมครบขอกําหนดของวิชาโท แตหากนักศึกษาศึกษารายวิชาตาง ๆ ครบตามโครงสรางหลักสูตร วิชาโท นักศึกษาก็จะไดรับการบันทึกวิชาโทนั้น ๆ ลงในใบรับรองคะแนน (Transcript) ดวย 6. การศึกษาวิชาในหมวดพลานามัย 6.1 กรณีนักศึกษาศึกษาเปนวิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 2 นักศึกษาจะศึกษาไดไมเกิน 3 หนวยกิต โดยศึกษา วิชา พล.101 สุขภาพและการออกกําลั งกายเพื่อคุ ณภาพชีวิต (2 หนวยกิต) ไปกับวิชาอื่ นๆในหมวดพลานามัยอี ก 1 วิชา (1 หนวยกิต) 6.2 กรณีนักศึกษาศึกษาเปนวิชาศึกษาทั่วไป สวนที่ 2 มาแลว 3 หนวยกิต จะศึกษาวิชาในหมวดนี้ไดอีก ไมเกิน 3 หนวยกิต 6.3 กรณีนักศึกษาศึกษาเปนวิชาเลือกเสรี โดยยังไมเคยศึกษาวิชาในหมวดนี้มากอน จะศึกษาไดไมเกิน 6 หนวยกิต โดยศึกษาวิชา พล.101 สุขภาพและการออกกําลังกายเพื่อคุณภาพชีวิต (2 หนวยกิต) และวิชาอื่นๆในหมวด พลานามัยอีก 4 วิชา (4 หนวยกิต) 6.4 การศึกษาวิชาในหมวดนี้ทุกกรณี นักศึกษาตองจดทะเบียนวิชา พล.101 สุขภาพและการออกกําลัง กายเพื่อคุณภาพชีวิต (2 หนวยกิต) กอนหรือพรอมกับวิชาอื่นๆ ในหมวดพลานามัย ขอกําหนดเรื่องการศึกษาวิชาภาษาตางประเทศเปนวิชาศึกษาทั่วไป 1. การจัดระดับความรูภาษาตางประเทศ ภาษาตางประเทศทุกภาษาจะมีการจัดระดับความรูของนักศึกษา ซึ่งจะทําดวยวิธีการตาง ๆ เชน จากผล การสอบคัดเลือกเขามหาวิทยาลัยวิชาภาษาอังกฤษ การจัดระดับความรู (Placement Test) การสัมภาษณ หากนักศึกษามี ความรูเกินระดับของวิชาวิชาศึกษาทั่วไปจะไดรับยกเวนไมตองศึกษาภาษาตางประเทศ 3 หรือ 6 หนวยกิต แลวแตกรณี และจะไดรับหนวยกิตวิชาภาษาตางประเทศที่ไดรับยกเวนดวย สําหรับภาษาอังกฤษ หากนักศึกษามีพื้นความรูมานอยจะตองเรียนวิชาเสริม (Remedial Course) คือ สษ. 070 วิชาเสริมนี้เปนวิชาที่ไมนับหนวยกิต 2. การเลือกเรียนวิชาภาษาอังกฤษเปนภาษาตางประเทศ ถานักศึกษาเลือกเรียนวิชาภาษาอังกฤษเปนภาษาตางประเทศ ควรปฏิบัติดังนี้ 2.1 ให ตรวจสอบผลการจั ดระดั บจากประกาศของสํา นักทะเบีย นฯ ของมหาวิท ยาลัย และจาก อาจารยที่ปรึกษา วาอยูในระดับใด หมูใด หมวดใด และจัดตารางสอนตามหมูและเวลาที่กําหนดในเอกสารจดทะเบียน ลักษณะวิชา 2.2 นักศึกษาที่มีผลการจัดระดับเรียบรอยแลว จะตองลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐานนั้นๆ ในภาคที่ 1

17
2.3 นักศึกษาที่มีผลการจัดระดับเรียบรอยแลว แตยังไมสามารถเรียนภาษาอังกฤษพื้นฐานในภาคที่ 1 ได เนื่องจากตองไปศึกษาตอตางประเทศตามโครงการแลกเปลี่ยนตาง ๆ จะตองจดทะเบียนเรียนในภาคสองและภาค ฤดูรอนหรือปการศึกษาถัดไป โดยใชผลสอบจัดระดับเดิมในปนั้นได แตจะตองมารายงานตัวตอผูอํานวยการสถาบัน ภาษาหนึ่งเดือนกอนที่จะมีการลงทะเบียนวิชาประจําภาคนั้น 2.4 สําหรับผูที่มีผลการจัดระดับได สษ.070 ตองจดทะเบียนเรียนในภาคแรกของแตละปการศึกษา เพราะในภาคสองมหาวิทยาลัยจะไมเปดสอนระดับนี้ให

18
คําอธิบายรายวิชา หมวดมนุษยศาสตร มธ.110 สหวิทยาการมนุษยศาสตร 3 (3-0-6) TU.110 Integrated Humanities ศึก ษาถึ ง ความเปน มาของมนุ ษ ย ในยุ ค ต า งๆ ที่ ไ ด สะท อ นความเชื่ อ ความคิ ด การพัฒ นาทางสติ ป ญญา สรางสรรคของมนุษย ตลอดจนใหรูจักมีวิธีการคิด วิเคราะหและมองปญหาตาง ๆ ที่มนุษยชาติกําลังเผชิญอยู อาทิ ผลกระทบของการพัฒนาทางเทคโนโลยี ปญหาความรุนแรง สงครามและวิกฤตตาง ๆ ของโลกเพื่อที่เราจะสามารถ ดําเนินชีวตตอไปอยางมีประสิทธิภาพ ทามกลางการเปลี่ยนแปลงของโลกนี้ ิ มธ.111 ประเทศไทยในมิติทางประวัติศาสตร สังคม และวัฒนธรรม 3 (3-0-6) TU.111 Thailand in Historical, Social and Cultural Perspective ภูมิหลังของสังคม วัฒนธรรม และภูมิปญญาไทย ตั้ง แตอดีต สยามประเทศ จึงถึงประเทศไทย มุงเน น ประเด็นการสรางเอกลักษณไทย และทิศทางการพัฒนาของสังคมและวัฒนธรรมไทย ในบริบทแหงโลกาภิวัฒน มธ.112 มรดกโลกกอนสมัยใหม 3 (3-0-6) TU.112 Heritage of the Pre-modern World ปญหาและผลสําเร็จในการแกปญหาที่สําคัญในสังคมโลกกอนสมัยใหม อันเปนมรดกตกทอดมาสูสังคม โลกปจจุบัน ทั้งในสถาบันศาสนา ภูมิปญญา วัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ และการเมือง มธ.113 ความรูพื้นฐานทางปรัชญาและศาสนา 3 (3-0-6) TU.113 Fundamentals of Philosophy and Religions การศึกษาแนวคิดทางปรัชญาและศาสนาที่มีความสําคัญตอมนุษยในแงทัศนคติ จริยธรรม และการดํารงชีวิต เพื่อ ใหนักศึกษารูจักคิด วิเคราะห และวิจารณปรากฏการณตางๆ อยางมีหลักเกณฑ และสามารถประยุกตความรู ความเขาใจในการศึกษาใหเปนประโยชนตอการดํารงชีวตรวมกับผูอื่นในสังคม ิ มธ.115 มนุษยกับผลงานสรางสรรคดานวรรณกรรม 3 (3-0-6) TU.115 Man and his Literary Creativity เรื่องราวของมนุษยที่สะทอนในผลงานสรางสรรคเชิงวรรณกรรมจากสือสิงพิมพ ภาพยนตร สื่อ ่ ่ อิเล็กทรอนิกสและสื่อสมัยใหมอื่น ๆ เพื่อเปรียบเทียบใหเห็นโลกทัศน คานิยม ความเชื่อ และศรัทธาของผูสรางสรรค ดานวรรณกรรมโดยศึกษาเชื่อมโยงมนุษยกับผลงานสรางสรรคดานวรรณกรรมในเชิงความสัมพันธที่มีคุณคาตอการ ดํารงชีวิตในปจจุบัน

19
มธ.116 มนุษยกับศิลปะ: ทัศนศิลป ดนตรี และศิลปะการแสดง 3 (3-0-6) TU.116 Man and Arts : Visual Art, Music and Performing Arts ศิลปะ บทบาทและความสัมพันธของศิลปะ กับพัฒนาการของมนุษย สังคมและสิ่งแวดลอม โดยศึกษาจาก ผลงานศิ ล ปกรรมด า นทั ศ นศิ ล ป ดนตรี และศิ ล ปะการแสดงซึ่ ง เป น สิ่ ง แสดงถึ ง วั ฒ นธรรมและพุ ท ธิ ป ญ ญาของ มนุษยชาติ ผูเรียนจะไดประจักษในคุณคาของศิลปะดวยประสบการณของตน ไดตรึกและซาบซึ้งในสุนทรียรสจาก ผลงานศิลปกรรมแตละประเภท เพื่อใหเกิดรสนิยม ความชื่นชม และความสํานึกในคุณคาของผลงานศิล ปกรรม โดยเฉพาะอยางยิ่ง ไดเรียนรูถึงอิทธิพลของศิลปะตอคานิยมและการดํารงชีวิตของคนไทย มธ.117 พัฒนาการของโลกสมัยใหม 3 (3-0-6) TU.117 Development of the Modern World พัฒนาการของสังคมโลก ตั้งแต ค.ศ.1500 เปนตนมาจนถึงปจจุบัน โดยเนนความสัมพันธทางดานเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง สังคม วัฒนธรรม วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี อันเปนพื้นฐานแหงการเปลี่ยนแปลงของโลกเขา สูสมัยใหม มธ.118 ภูมิทัศนวัฒนธรรมไทย 3 (1-4-7) TU.118 Thai Folk Cultural Landscape ศึกษานอกสถานที่ในภาคฤดูรอน ในลักษณะกิจกรรมเชิงคายวัฒนธรรม โดยศึกษาองคความรูพื้นฐานทาง วัฒนธรรม ภูมิ นิเ วศ ภูมิ ทัศ น ประวัติ ศาสตรทอ งถิ่ น ที่เ ปนรากฐาน อุ ดมการณป รัชญาชีวิ ต จารึ ก นิทาน ตํา นาน วรรณกรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปกรรม สถาปตยกรรม ศิลปการแสดง การละเลนพื้นบานของกลุมชาติพันธุ วิถีชีวิตเฉพาะถิ่นตอการสืบสาน สรางสรรคความเปนเอกภาพ เอกลักษณวัฒนธรรมไทย และการพลวัตเปลี่ยนแปลง การปรับตัว การแพรกระจาย การเชื่อมโยงกับวัฒนธรรมนานาชาติ และความคงอยูอยางยั่งยืนของวัฒนธรรมไทย หมวดสังคมศาสตร มธ.120 สหวิทยาการสังคมศาสตร 3 (3-0-6) TU.120 Integrated Social Sciences วิชาสหวิทยาการสังคมศาสตร มุงแสดงใหเห็นวาวิชาสังคมศาสตรมีความหมายตอมนุษย โดยศึกษากําเนิด ของสังคมศาสตรกับโลกยุคสมัยใหม การแยกตัวของสังคมศาสตรออกจากวิทยาศาสตร การรับเอากระบวนทัศน (Paradigm) ของวิทยาศาสตรมาใชอธิบายปรากฏการณทางสังคมศาสตร ศึกษาถึงศาสตร (Discipline) มโนทัศน (Concept) และทฤษฎีตาง ๆ สําคัญ ๆ ทางสังคมศาสตร โดยชี้ใหเห็นถึงจุดแข็งและจุดออนของสังคมศาสตร ศึกษา วิเคราะหปญหาสังคมรวมสมัยแบบตาง ๆ โดยใชความรูและมุมมองทางสังคมศาสตรเปนหลักเพื่อใหเขาใจและมอง เปนปญหานั้น ๆ ทั้งในระดับปจเจกบุคคลระดับกลุม ระดับมหภาคทางสังคม ระดับสังคม ที่เปนรัฐชาติและระดับสังคม ที่รวมเปนระบบโลก

20
มธ.121 มนุษยกับสังคม 3 (3-0-6) TU.121 Man and Society ลักษณะทั่วไปของสังคมมนุษย องคประกอบโครงสรางและกระบวนการทางสังคม การเปลี่ยนแปลง และ วิวัฒนาการของสังคมอันเปนผลจากการเปลี่ยนแปลงทางสิ่งแวดลอม เทคโนโลยี และปจจัยสําคัญอื่น ๆ วิเคราะหสังคม แบบตาง ๆ เพื่อใหเห็นความสัมพันธระหวางองคประกอบตาง ๆ ภายในสังคม และความสัมพันธระหวางสังคมกับ สิ่งแวดลอม เสริมสรางจริยธรรม จิตสํานึก และความรับผิดชอบตอสังคมทั้งในระดับชาติ และระดับสากล มธ.122 กฎหมายในชีวิตประจําวัน 3 (3-0-6) TU.122 Law in Everyday Life ลักษณะทั่วไปของกฎหมาย ในฐานะที่เปนแบบแผนความประพฤติของมนุษยในสังคม หลักการพื้นฐานของ นิติรัฐ (rules of law) คุณคาของกฎหมายในฐานะที่เชื่อมโยงกับหลักคุณธรรมของประชาชน ความรูพื้นฐานในเรื่อง กฎหมายเอกชนและกฎหมายมหาชนที่พลเมืองในระบอบประชาธิปไตยควรตองรูทั้งในดานของสิทธิ และในดานของ หนาที่ การระงับขอพิพาทและกระบวนการยุติธรรมของไทย หลักการใชสิทธิ หลักการใชและการตีความกฎหมาย โดย เนนการศึกษาจากกรณีตัวอยางที่เกิดขึ้นจริงในชีวิตประจําวัน มธ.124 สังคมกับเศรษฐกิจ 3 (3-0-6) TU.124 Society and Economy แนวทางการศึกษาและการวิเคราะหสังคม และเศรษฐกิจในฐานะที่วิชานี้เปนการศึกษาทางดานสังคมศาสตร แลวนําสูการวิเคราะหวิวัฒนาการของสังคมและเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในภาพกวางของโลกและของประเทศไทย โดยเนน ใหเห็นถึงอิทธิพลของวัฒนธรรมและสถาบันที่มีตอระบบสังคมเศรษฐกิจ หมวดวิทยาศาสตรกับคณิตศาสตร วิทยาศาสตร มธ.130 สหวิทยาการวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 3 (3-0-6) TU.130 Integrated Sciences and Technology แนวคิด ทฤษฎีปรัชญาพื้นฐาน และกฎเกณฑทางวิทยาศาสตร วิวัฒนาการของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ มีความสําคัญและมีสวนเกี่ยวของตอการดําเนินชีวิตในปจจุบัน ผลกระทบระหวางวิทยาศาสตรเทคโนโลยีกับเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม และศึกษาประเด็นการถกเถียงที่สําคัญที่เกี่ยวของกับสถานการณในปจจุบัน รวมถึงจริยธรรม คุณธรรมของความเปนมนุษย

21
มธ.131 มนุษยกับวิทยาศาสตรกายภาพ 3 (3-0-6) TU.131 Man and Physical Science วิธีการทางวิทยาศาสตรเพื่อจะสามารถนําวิธีการนี้ไปใชแสวงหาความรูตางๆ ในยุคแหงขอมูลขาวสาร รวมถึงใชแกปญหาในการทํางานในชีวิตประจําวัน ศึกษาแนวคิดทฤษฎีและกฎเกณฑทางวิทยาศาสตรกายภาพ โดยเนน ทําความเขาใจเนื้อหาในสวนที่สามารถนําไปประยุกตใชเพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิตของมนุษยใหดีขึ้นเชน ศึกษาความรู ทางฟสิกสที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีเพื่อการสื่อสาร เทคโนโลยีการแพทย และศึกษาความรูทางเคมีเพื่อเขาใจและ เลือกใชสารเคมีที่มีรอบตัว นอกจากนั้น จะศึกษา ความรูพื้นฐานทางวิทยาศาสตรกายภาพ เพื่อชวยใหสามารถเขาใจ ปรากฏการณทางธรรมชาติที่ปรากฏเปนขาวตามสื่อตางๆ ดวย มธ.142 มนุษยกับวิทยาศาสตรชีวภาพ 3 (3-0-6) TU.142 Man and Biological Science ธรรมชาติและกําเนิดชีวิต วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต พันธุกรรม การสืบพันธุ พัฒนาการและความชราของ มนุษย การนําความรูทางวิทยาศาสตรชีวภาพมาใชประโยชนทางดานการเกษตร การอุตสาหกรรม การแพทยและ สิ่งแวดลอม รวมทั้งศึกษาผลกระทบทางเทคโนโลยีชีวภาพที่มีตอคุณภาพชีวิตมนุษย มธ.143 มนุษยกับสิ่งแวดลอม 3 (3-0-6) TU.143 Man and Environment ความสัมพันธระหวางมนุษยกับสิ่งแวดลอมในธรรมชาติ โดยคํานึงถึงความสัมพันธและการอยูรวมกันของ สิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดลอมเพื่อใหเกิดสมดุลแหงธรรมชาติ รูจักใชประโยชน และจัดการสิ่งแวดลอมอยางมีประสิทธิภาพ และยั่งยืนตลอดไป โดยชี้ใหเห็นถึงผลกระทบของความเจริญทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่มีตอสิ่งแวดลอม สังคม เศรษฐกิจ รวมทั้งใหความสําคัญของสิ่งแวดลอมที่มีตอมนุษยในปจจุบันและอนาคต วค.106 ความยั่งยืนทางทรัพยากรธรรมชาติและพลังงาน 3 (3-0-6) AE.106 Sustainability of Natural Resources and Energy พื้นฐานเกี่ยวกับนิเวศวิทยา เพื่อประโยชนสําหรับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอม ลักษณะ ของมลพิษสิ่งแวดลอมและผลกระทบตอสังคม แนวคิดตางๆ เกี่ยวกับความยั่งยืนทางทรัพยากรธรรมชาติและพลังงาน การวิเคราะห การตัดสินใจ จริยธรรมสิ่งแวดลอม การออกแบบที่ยั่งยืน การใชพลังงานของประเทศไทย การใชพลังงาน ในภาคการขนสง การใชพลังงานในภาคอุตสาหกรรม และอาคารธุรกิจ แนวทางการพัฒนาพลังงานที่ยั่งยืนสําหรับ ประเทศไทย การผลิตไฟฟาสําหรับประเทศไทย การประหยัดพลังงาน พลังงานทางเลือก พลังงานแสงอาทิตย ชีวมวล เพื่อพลังงาน การผลิตเอทานอล การผลิตไบโอดีเซล เทคโนโลยีถานหินสะอาด พลังงานนิวเคลียร

22
คณิตศาสตร มธ.151 คณิตศาสตรทั่วไประดับมหาวิทยาลัย 3 (3-0-6) TU.151 General College Mathematics (ไมนับหนวยกิตใหกับนักศึกษาที่มีรหัสคณะ 02, 04 และตั้งแต 09 ถึง 14,16,17) เซต ระบบจํานวนจริง ความสัมพันธ ฟงกชันและการประยุกต แนวคิดและตัวอยางเบื้องตนของกําหนดการ เชิงเสน ตรรกวิทยา การพิสูจนโดยทฤษฎี ดอกเบี้ย เงินผอนและภาษีเงินได ความนาจะเปนเบื้องตนแบบไมมีเงื่อนไข และมีเงื่อนไข เหตุการณที่เปนอิสระตอกัน ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับสถิติ เชิงพรรณนา เลขดัชนี การประมาณคาและการ ทดสอบสมมุติฐาน เกี่ยวกับคาเฉลี่ยของประชากรกลุมเดียว การอานผลลัพธที่ไดจากการประมวลผลโดยใชโปรแกรม สําเร็จรูปทางสถิติ มธ.152 หลักพื้นฐานทางคณิตศาสตร 3 (3-0-6) TU.152 Fundamental Mathematics (วิชานี้สําหรับนักศึกษาที่เคยเรียนคณิตศาสตรในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายไมตํ่ากวา 16 หนวยกิตหรือ เปนวิชาที่คณะ/สาขาวิชาบังคับใหเรียน) หลักเกณฑทางตรรกศาสตรที่ใ ชในการพิสูจน วิธีการพิสูจน แบบตา ง ๆ การอางเหตุผล การอุ ปนัยเชิ ง คณิตศาสตร การพิสูจนในทฤษฎีเกี่ยวกับอสมการและคาสัมบูรณ การแกอสมการ ฟงกชัน ฟงกชันชนิดตางๆ โจทย ประยุกตของฟงกชัน การเขียนกราฟของฟงกชัน การแยกเศษสวนออกเปนเศษสวนยอย การแกระบบสมการเชิงเสน อยางงาย มธ.153 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 3 (3-0-6) TU.153 General Concepts of Computer องคประกอบที่สําคัญของระบบคอมพิวเตอร ฮารดแวร ซอฟตแวร ขอมูลและการประมวลผลพื้นฐานการ สื่อสารขอมูล ระบบเครือขาย อินเตอรเน็ต หลักการแกปญหาดวยคอมพิวเตอร การประยุกตใชซอฟตแวรสําเร็จรูป ความปลอดภัย จรรยาบรรณและกฎหมายที่เกี่ยวของกับการใชงานคอมพิวเตอรและระบบสารสนเทศ มธ.154 รากฐานคณิตศาสตร 3 (3-0-6) TU.154 Foundation of Mathematics หลักเกณฑทางตรรกศาสตรที่ใชในการพิสูจน วิธีการพิสูจนแบบตางๆ ตัวบงปริมาณ การอางเหตุผลและ อุปนัยเชิงคณิตศาสตร โครงสรางของระบบจํานวนจริง ทฤษฎีบททวินามและทฤษฎีบทอเนกนาม การเลื่อนแกน การ หมุนแกน และการรางกราฟของภาคตัดกรวย การเขียนกราฟ ฟงกชันเพิ่ม ฟงกชันลด การแยกเศษสวนออกเปน เศษสวนยอย ทฤษฎีจานวนเบื้องตน ํ

23
มธ.155 สถิติพื้นฐาน 3 (3-0-6) TU.155 Elementary Statistics ลักษณะปญหาทางสถิติ ทบทวนสถิติเชิงพรรณา ความนาจะเปน ตัวแปรสุมและการแจกแจงของตัวแปรสุม แบบทวินาม ปวซง และปกติ เทคนิคการชักตัวอยางและการแจกแจงของตัวสถิติ การประมาณคาและการทดสอบ สมมุติฐาน เกี่ยวกับคาเฉลี่ยประชากรกลุมเดียวและสองกลุม การวิเคราะห ความแปรปรวนจําแนกทางเดียว การ วิเคราะหการถดถอยและสหสัมพันธเชิงเสนเชิงเดียว การวิเคราะหไคกําลังสอง มธ.156 คอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมเบื้องตน 3 (3-0-6) TU156 Introduction to Computers and Programming หลักการพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร หลักการการประมวลผลขอมูลอิเลคทรอนิกส ซอฟตแวรระบบและ ซอฟตแวรประยุกต ขั้นตอนวิธี ผังงาน การแทนขอมูล วิธีการการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม การแกปญหาดวย ภาษาโปรแกรมระดับสูง 3 (3-0-6) วท.142 คณิตศาสตรสําหรับวิทยาศาสตร SC.142 Mathematics for Science เมทริกซ ดีเทอรมิแนนต วิธีหาผลเฉลยของระบบสมการเชิงเสน อนุพันธของฟงกชันพีชคณิตและฟงกชัน อดิศัย คาสูงสุดและคาต่ําสุดของฟงกชัน ปริพันธและเทคนิคการหาปริพันธ อนุกรมอนันตและการทดสอบการลูเขา ของอนุกรมอนันต สมการเชิงอนุพันธสามัญอันดับที่หนึ่ง หมวดภาษา ภาษาไทย ท.160 ภาษาไทยเบื้องตน TH.160 Basic Thai (สําหรับนักศึกษาชาวตางประเทศ หรือไดรับอนุมัติจากภาควิชาภาษาไทย) เขียน หมายเหตุ 1. ผูเรียนตองเปนนักศึกษาชาวตางประเทศ หรือนักศึกษาที่ไมมีความรูภาษาไทยหรือมีความรูภาษาไทยนอย มากเนื่องจากตองพํานัก หรือศึกษาในตางประเทศ หรือศึกษาหลักสูตรนานาชาติเปนเวลานาน จนไมสามารถสื่อสาร ดวยภาษาไทยได 2. คณะหรือโครงการตางๆ ที่มีนักศึกษากลุมดังกลาวขางตน สามารถกําหนดใหนักศึกษาลงทะเบียน ท.160 ได แตทั้งนี้หากภาควิชาฯ พบวานักศึกษามีความรูเพียงพอที่จะศึกษาในระดับ ท.161 ภาควิชาฯ จะดําเนินการให นักศึกษาเพิกถอนรายวิชา ท.160 แลวไปลงทะเบียนรายวิชา ท.161

3 (3-0-6)

การใชภาษาไทยดานตัวอักษร เสียง คํา ความหมายของคํา ประโยค และฝกทักษะทั้งสี่ คือ ฟง พูด อาน

24
3. กรณีที่หลักสูตรระดับปริญญาตรีของคณะหรือโครงการตางๆ กําหนดใหเรียนวิชาศึกษาทั่วไป หมวด ภาษาไทย 2 รายวิชา คือ ท.161 และ ท.162 หรือ ท.161 และ ท.163 หากมีนักศึกษาในกรณี ขอ 1 คณะหรือโครงการ สามารถจัดใหนักศึกษาลงทะเบียนเรียน 2 รายวิชา คือ ท.160 ภาษาไทยเบื้องตน และ ท.161 การใชภาษาไทย ท.161 การใชภาษาไทย 3 (3-0-6) TH.161 Thai Usage หลักและฝกทักษะการใชภาษาไทย ดานการฟง การอาน การเขียน และการพูด โดยเนนการจับใจความ สําคัญ การถายทอดความรู ความคิดและการเขียน เรียบเรียงไดอยางเหมาะสม ท.162 การเขียนรายงานวิชาการ 3 (3-0-6) TH.162 Report Writing หลักการเขียนรายงานวิชาการ สามารถคนควาขอมูลและอางอิงไดอยางเปนระบบ ตลอดจนฝกทักษะการ เขียนรายงานวิชาการ ท.163 การเขียนเพื่อการสื่อสารในองคกร 3 (3-0-6) TH.163 Communicative Writing in the organization หลักการเขียนเพื่อการสื่อสารในองคกร และฝกทักษะการเขียนบันทึก การเขียนจดหมาย การเขียนรายงาน การประชุม ภาษาอังกฤษ สษ.070 ภาษาอังกฤษพืนฐาน 1 ้ 0 (3-0-6) EL070 English Course 1 วิชาบังคับกอน : กําหนดจากการจัดระดับความรูภาษาอังกฤษของสถาบันภาษา เปนการศึกษาเสริมที่มิไดหนวยกิต (Non-Credit) เพื่อชวยนักศึกษาที่มีพื้นฐานความรูภาษาอังกฤษยังไมสูง พอที่จะเขาศึกษาในระดับพื้นฐานได (รายงานผลการศึกษาระบุเพียงใชได (S) หรือใชไมได (U) และจะไมนําไปคิด รวมกับจํานวนหนวยกิตทั้งหมด หรือคํานวณคาระดับเฉลี่ย) ทบทวนความรูภาษาอังกฤษพื้นฐาน โดยเนนการทบทวนความรูทางไวยากรณ การฟง การพูด ระดับตนและ การอานบทความสั้นๆ สษ.171 ภาษาอังกฤษพืนฐาน 2 ้ 3 (3-0-6) EL.171 English Course 2 วิชาบังคับกอน : กําหนดจากการจัดระดับความรูภาษาอังกฤษของสถาบันภาษา หรือสอบ สษ. 070 ได ระดับ S ศึกษาและฝกฝนภาษาอังกฤษทั้งสี่ทักษะ คือ ฟง พูด อาน และเขียนโดยการพูดระดับกลางและ การอาน บทความที่มีความยาวขึ้น

25
สษ.172 ภาษาอังกฤษพืนฐาน 3 ้ 3 (3-0-6) EL172 English Course 3 วิชาบังคับกอน : กําหนดจากการจัดระดับความรูภาษาอังกฤษของสถาบันภาษา หรือสอบ สษ. 171 ไดไม ต่ํากวาระดับ D ศึกษาและฝกฝนภาษาอังกฤษทั้งสี่ทักษะ โดยเนนการฝกฟงขาว บทสนทนา และเนนการอานบทความที่ ยากขึ้น และฝกการเขียนระดับยอหนา ภาษาตางประเทศ ภาษาจีน วัตถุประสงค 1. เพื่อใหนักศึกษามีความรูเรื่องระบบเสียงและวิธีการออกเสียงที่ถูกตองตามมาตรฐานของภาษาจีน 2. เพื่อใหนักศึกษามีทักษะ ความสามารถและหลักเกณฑการเขียนตัวอักษรจีน 3. เพื่อใหนักศึกษามีความรูความเขาใจในโครงการไวยากรณระดับพื้นฐานของภาษาจีน 4. เพื่อใหนักศึกษามีความรูความสามารถในการใชประโยคภาษาจีนงายๆ ไดอยางถูกตอง จน.171 ภาษาจีน 1 3 (3-0-6) CH.171 Chinese 1 ศึกษาโครงสรางพื้นฐานที่สําคัญของภาษาจีนทั้งทางดานการออกเสียงและทางดานไวยากรณ เรียนรูวิธีการ เขียนตัวอักษรจีน ประมาณ 250 ตัว ตลอดจนวงศัพทที่เกิดจากตัวอักษรจีนเหลานั้น จน.172 ภาษาจีน 2 3 (3-0-6) CH.172 Chinese 2 วิชาบังคับกอน : สอบได จน. 171 หรือผานการทดสอบ หรือไดรับอนุมัติจากผูบรรยาย ศึกษาตอจาก จน. 171 เรียนรูรปประโยคที่ซับซอนขึ้น และเรียนรูตัวอักษรจีนเพิ่มขึ้น ประมาณ 300 ตัว ู ภาษาฝรั่งเศส วัตถุประสงค 1. เพื่อใหนักศึกษาศึกษาศัพทและไวยากรณพื้นฐานของภาษาฝรั่งเศสและมีความรูความสามารถในการใช ภาษาฝรั่งเศสไดอยางถูกตอง 2. เพื่อใหนักศึกษาฝกฝนความเขาใจดานการฟง และพัฒนาทักษะในการพูด โดยเนนการออกเสียงใหถกตอง ู 3. เพื่อใหนักศึกษาพัฒนาทักษะการอานและการเขียน โดยเนนการนําความรูทางภาษาไปใชไดอยางมี ประสิทธิภาพ 4. เพื่อใหนกศึกษาเรียนรูวัฒนธรรม ตลอดจนความรูทั่วไปที่เกี่ยวของกับประเทศฝรั่งเศส ั 5. เพื่อเปนพื้นฐานสําหรับการศึกษาภาษาฝรั่งเศสในระดับสูงตอไป

26
ฝ.171 ภาษาฝรั่งเศส 1 3 (3-0-6) FR.171 French 1 วิชาบังคับกอน : กําหนดจากผลการสอบจัดระดับความรูภาษาฝรั่งเศส หรือคะแนนสอบภาษาฝรั่งเศสในการ สอบเขามหาวิทยาลัย หรือไดรับอนุมัติจากผูบรรยาย  ศึกษาไวยากรณพื้นฐานของภาษาฝรั่งเศส โดยมุงพัฒนาทักษะการอานและการเขียน ฝกฝนความเขาใจดวย การฟง พัฒนาทักษะการพูดตลอดจนการออกเสียงใหถูกตอง รวมทั้งศึกษาวัฒนธรรม ความรูทั่วไปที่เกี่ยวของกับ ประเทศฝรั่งเศส ฝ.172 ภาษาฝรั่งเศส 2 3 (3-0-6) FR.172 French 2 วิชาบังคับกอน : กําหนดจากผลจัดระดับความรูภาษาฝรั่งเศส หรือสอบ ฝ.171 ไดไมต่ํากวาระดับ D หรือ ไดรับอนุมัติจากผูบรรยาย ศึกษาไวยากรณและความรูทางดานวัฒนธรรมที่เกี่ยวของกับประเทศฝรั่งเศส รวมทั้งฝกฝนทักษะทั้งสี่ดาน ในระดับสูงขึ้น ภาษาญี่ปุน วัตถุประสงค 1. เพื่อปูพื้นฐานทักษะทั้ง 4 คือ ฟง พูด อาน เขียน ในระดับตน สําหรับผูที่ยังไมเคยเรียนภาษาญี่ปุนมากอน ใหเกิดความรูความเขาใจ และสามารถศึกษาภาษาญี่ปุนในระดับสูงตอไป 2. เพื่อใหสามารถใชภาษาญี่ปุนในการสื่อสารเรื่องราวในชีวิตประจําวันอยางงายๆ ได 3. เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจในขนบธรรมเนียม วัฒนธรรมตลอดจนเรื่องทั่วๆ ไปเกี่ยวกับเจาของภาษา ญ.171 JP.171 3 (3-0-6) ภาษาญี่ปุน 1 Japanese1 ศึกษาระบบเสียงและอักษร 3 ชนิด ที่ใชในภาษาญี่ปุน คือ ฮิรางานะ คาตาคานะ และคันจิ ศึกษาคําทักทายที่ ใชในชีวตประจําวัน และโครงสรางประโยคขั้นพื้นฐาน ฝกฝนทักษะทั้ง 4 คือ ฟง พูด อาน เขียน เพื่อใหสามารถ ิ สื่อสารเรืองราวในชีวิตประจําวันได เรียนรูศัพทประมาณ 600 คํา และอักษรคันจิพื้นฐานประมาณ 80 ตัว ่

ภาษาญี่ปุน 2 3 (3-0-6) Japanese 2 วิชาบังคับกอน : สอบได ญ. 171 ศึกษาโครงสรางประโยคขั้นพื้นฐานตอจาก ญ.171 ฝกฝนทักษะทั้ง 4 คือ ฟง พูด อาน และเขียน เพื่อให สามารถสื่อสารเรื่องราวในชีวตประจําวันได เรียนรูคําศัพทประมาณ 700 คําและอักษรคันจิประมาณ 220 ตัว ถึงระดับนี้ ิ นักศึกษาจะรูคําศัพทประมาณ 1,300 คํา และอักษรคันจิประมาณ 300 ตัว

ญ.172 JP.172

27
ภาษารัสเซีย วัตถุประสงค 1. เพื่อปูพื้นฐานทักษะทั้ง 4 ซึ่งไดแก การฟง พูด อาน และเขียนในระดับตนใหเชื่อมโยงประสานกัน 2. เพื่อสงเสริมใหนักศึกษามีความรู ทางดานวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีและความเขาใจทั่วๆ ไป เกี่ยวกับประเทศสหพันธรัฐรัสเซีย 3. เพื่อเปนพื้นฐานสําหรับการศึกษาภาษารัสเซียในระดับสูงตอไป รซ.171 ภาษารัสเซีย 1 3 (3-0-6) RS.171 Russian 1 ศึกษาโครงสรางพื้นฐานที่สําคัญของภาษารัสเซียโดยอาศัยการฝกทักษะทั้ง 4 ไดแก ฟง พูด อาน เขียน ใน ระดับตนใหเชื่อมโยงประสานกัน โดยเนนการออกเสียงและแนะนําหลักไวยากรณ

รซ.172 ภาษารัสเซีย 2 3 (3-0-6) RS.172 Russian 2 วิชาบังคับกอน : สอบได รซ. 171 ฝกทักษะทางดานการพูด ฟง อาน และเขียนในระดับสูงขึ้น ในระดับนี้นักศึกษาจะสามารถใชภาษางายๆ ใน ชีวิตประวันได ภาษาเยอรมัน วัตถุประสงคสําหรับผูไมเคยเรียนภาษาเยอรมันมากอน 1. เพื่อปูพื้นฐานความรูความเขาใจโครงสรางของภาษาเยอรมันทางดานไวยากรณ การอาน และการออก เสียง เพื่อใหนักศึกษามีพื้นฐานสําหรับการศึกษาภาษาเยอรมันในระดับสูงขึ้นตอไป 2. เพื่ อ ฝ กฝนและพัฒนาทั กษะทั้ งสี่ ไดแ ก การฟง -การพู ด การอา น-การเขี ยน เพื่ อ ใหนั กศึ กษาเกิ ด ความคุนเคยกับภาษาเยอรมันและสามารถใชภาษาเยอรมันสื่อสารไดบาง ทั้งในดานการพูดและการเขียนในระดับตน 3. เพื่อใหเกิดความรูและความเขาใจดานวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ตลอดจนเรื่องทั่วๆไปที่เกี่ยวของกับ เจาของภาษา ย.171 ภาษาเยอรมัน 1 3 (3-0-6) GR.171 German 1 วิชานี้เปนวิชาสําหรับนักศึกษาที่ยังไมเคยศึกษาภาษาเยอรมันมากอนเลย เปนการปูพื้นโครงสรางที่สําคัญ ของภาษา การอาน การออกเสียงโดยอาศัยทักษะทั้ง 4 ไดแก อาน ฟง พูด เขียน

28
ย.172 ภาษาเยอรมัน 2 3 (3-0-6) GR.172 German 2 วิชาบังคับกอน : สอบได ย. 171 หรือผานการทดสอบ หรือไดรับอนุมัตจากสาขาภาษาเยอรมัน ิ ศึกษาไวยากรณ การอาน การพูด และการเขียนในระดับสูงขึ้น สามารถเขาใจชีวิตความเปนอยูและทัศนคติ ประจําวันของชาวเยอรมันไดพอสมควร ภายในวงศัพท 1,500-2,000 คํา วัตถุประสงคสําหรับผูที่เคยเรียนมาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 1. เพื่อทบทวนและเพิ่มเติมความรูภาษาเยอรมัน ทั้งในเรื่องโครงสรางของภาษาและสํานวนการใชภาษาใน เรื่องโครงสรางของภาษาและสํานวนการใชภาษาในระดับที่สูงกวา ย.171/ย.172 และเพื่อสงเสริมใหนักศึกษาสามารถ ใชภาษาไดแมนยํา ถูกตองและสละสลวยยิ่งขึ้น 2. เพื่อพัฒนาทักษะในดานการอาน การฟง การพูดและการเขียน ในระดับตอจาก ย. 171/ย. 172 โดยเนนการ  พัฒนาทักษะตาง ๆ ดวยตนเองเปนสําคัญ เพื่อใหนักศึกษามีโอกาสฝกและเรียนรูวิธีที่จะศึกษาคนควาหาความรูเพิ่มเติม ดวยตนเองตอไป 3.เพื่อใหความรูดานเยอรมันศึกษา ความคิดเห็นตลอดจนทัศนคติในเรื่องตางๆ ของเจาของภาษาเพื่อให นักศึกษามีโลกทัศนกวางไกลขึ้น อันจะเปนประโยชนตอตนเองและการเรียนภาษาและวรรณคดีเยอรมัน ย.211 ภาษาเยอรมัน 3 GR.211 German 3 3 (3-0-6)

วิชาบังคับกอน : สอบได ย. 172 หรือสอบผานภาษาเยอรมันระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือผานการ ทดสอบหรือไดรับอนุมัติจากภาควิชาภาษาเยอรมัน ศึกษาศัพท ไวยากรณและโครงสรางภาษาเยอรมัน โดยมุงพัฒนาทักษะทั้ง 4 เพื่อเปนพื้นฐานในการเรียน ระดับสูงตอไป ย.212 ภาษาเยอรมัน 4 3 (3-0-6) GR.212 German 4 วิชาบังคับกอน : สอบได ย. 211 หรือผานการทดสอบหรือไดรับอนุมัติจากภาควิชาภาษาเยอรมัน ใชแนวการสอนเดียวกับ ย. 211 ศึกษาศัพท ไวยากรณ และโครงสรางภาษาเยอรมันในระดับตอจาก ย. 211 ภายในวงศัพท 3,500 ถึง 4,000 คํา ภาษาเกาหลีพื้นฐาน กล.171 ภาษาเกาหลี 1 3 (3-0-6) KO.171 Korean 1 ในวิชานี้นักศึกษาจะไดเรียนรูระบบการออกเสียง การเขียนอักษรและพยัญชนะที่ใชในภาษาเกาหลี คํา ทักทายที่ใชในชีวิตประจําวันเบื้องตน ศึกษาไวยากรณโครงสรางพื้นฐานและฝกสนทนาระดับพื้นฐาน เรียนรูคําศัพท ภาษาเกาหลีประมาณ 200 คํา

29
กล.172 ภาษาเกาหลี 2 3 (3-0-6) KO.172 Korean 2 วิชาบังคับกอน : สอบได กล. 171 เปนหลักสูตรตอเนื่องจากภาษาเกาหลี 1 นักศึกษาจะไดเรียนโครงสรางประโยคขั้นพื้นฐาน ศึกษาไวยากรณ การแตงประโยค ตลอดจนสามารถใชภาษาเกาหลีในชีวิตประจําวันได เรียนรูคําศัพทเพิ่มเติมประมาณ 300 คํา หมวดพลานามัย พล.101 สุขภาพและการออกกําลังกายเพื่อคุณภาพชีวิต 2 (2-0-4) PS.101 Exercise and Sports for Healthy life ความรูเกี่ยวกับสุขภาพ ทั้งทางรางกายและจิตใจ การสงเสริมสุขภาพแบบองครวม อาทิ โภชนาการ การฝก จิตเพื่อสุขภาพ หลักการออกกําลังกาย และการเลนกีฬาที่ถูกตอง รวมถึงการปองกันการบาดเจ็บและการปฐมพยาบาล พล.102 แอโรบิกเพื่อสุขภาพ PS.102 Aerobic Dance for Health วิชาบังคับกอน: สอบผานหรือศึกษาพรอมกับ วิชา พล.101 ทฤษฎี หลักการ การฝกทักษะ และเทคนิคเบื้องตนของการออกกําลังกายแบบแอโรบิก พล.103 โยคะเพื่อสุขภาพ PS.103 Yoga for Health วิชาบังคับกอน: สอบผานหรือศึกษาพรอมกับ วิชา พล.101 ทฤษฎี หลักการ การฝกทักษะ และเทคนิคเบื้องตนของการออกกําลังกายแบบโยคะ 1 (0-2-1)

1 (0-2-1)

พล.104 การเสริมสรางสรีระและสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ 1 (0-2-1) PS.104 Body Fitness for Health วิชาบังคับกอน: สอบผานหรือศึกษาพรอมกับ วิชา พล.101 ทฤษฎี หลักการ การฝกทักษะ และเทคนิคเบื้องตนของการออกกําลังกายเพื่อการเสริมสรางกลามเนื้อ ความ แข็งแกรง และความยืดหยุนของรางกาย พล.105 ศิลปะการปองกันตัว 1 (0-2-1) PS.105 Self-Defense วิชาบังคับกอน: สอบผานหรือศึกษาพรอมกับ วิชา พล.101 ทฤษฎี หลักการ การฝกทักษะ และเทคนิคเบื้องตนของการปองกันตัวในรูปแบบตางๆที่เหมาะกับเพศ และ สรีระเพื่อสุขภาพ และการใชในชีวิตประจําวัน

30
พล.106 นันทนาการ 1 (0-2-1) PS.106 Recreation วิชาบังคับกอน: สอบผานหรือศึกษาพรอมกับ วิชา พล.101 ทฤษฎี หลักการของการนันทนาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต หลักการและวิธีการจัดคายพักแรม เรียนรูการใช ชีวิตรวมกัน การฝกความเปนผูนําและผูตามที่ดี พล.107 การเจริญสติและฝกสมาธิ 1 (0-2-1) PS.107 Mindfulness and Meditation วิชาบังคับกอน: สอบผานหรือศึกษาพรอมกับ วิชา พล.101 แนวทางในการเจริญสติและสมาธิ การฝกจิตเพื่อการศึกษาและการดํารงอยูอยางมีประสิทธิภาพทั้งใน มหาวิทยาลัย และในชีวิตประจําวัน พล.108 วายน้ํา 1 (0-2-1) PS.108 Swimming วิชาบังคับกอน: สอบผานหรือศึกษาพรอมกับ วิชา พล.101 ทฤษฎี หลักการ การฝกทักษะและเทคนิคเบื้องตน ของการวายน้ําประเภทตางๆ กฎกติกาการแขงขัน การใช อุปกรณและความปลอดภัย พล.109 กรีฑา 1 (0-2-1) PS.109 Track and Field วิชาบังคับกอน: สอบผานหรือศึกษาพรอมกับ วิชา พล.101 ทฤษฎี หลักการ การฝกทักษะและเทคนิคเบื้องตน ของการวิ่งระยะสั้น ระยะกลาง ระยะไกล การวิ่งผลัด วิ่ง ขามรั้ว และกรีฑาลานประเภทตางๆ กฎ กติกาการแขงขัน และความปลอดภัยในการเลน พล.110 เทนนิส 1 (0-2-1) PS.110 Tennis วิชาบังคับกอน: สอบผานหรือศึกษาพรอมกับ วิชา พล.101 ทฤษฎี หลักการ การฝกทักษะและเทคนิคเบื้องตน ของกีฬาเทนนิส กฎ กติกาการแขงขัน การบํารุงรักษา อุปกรณ และความปลอดภัยในการเลน พล.111 แบดมินตัน 1 (0-2-1) PS.111 Badminton วิชาบังคับกอน: สอบผานหรือศึกษาพรอมกับ วิชา พล.101 ทฤษฎี หลักการ การฝกทักษะและเทคนิคเบื้องตน ของการกีฬาแบดมินตัน กฎ กติกาการแขงขัน การ บํารุงรักษาอุปกรณ และความปลอดภัยในการเลน

31
พล.112 ฟุตบอล 1 (0-2-1) PS.112 Football วิชาบังคับกอน: สอบผานหรือศึกษาพรอมกับ วิชา พล.101 ทฤษฎี หลักการ การฝกทักษะและเทคนิคเบื้องตน ของการกีฬาฟุตบอล การเลนเปนทีม กฎ กติกาการ แขงขัน และความปลอดภัยในการเลน พล.113 บาสเกตบอล 1 (0-2-1) PS.113 Basketball วิชาบังคับกอน: สอบผานหรือศึกษาพรอมกับ วิชา พล.101 ทฤษฎี หลักการ การฝกทักษะและเทคนิคเบื้องตน ของการกีฬาบาสเกตบอล การเลนเปนทีม กฎ กติกาการ แขงขัน และความปลอดภัยในการเลน พล.114 ลีลาศ 1 (0-2-1) PS.114 Social Dance วิชาบังคับกอน: สอบผานหรือศึกษาพรอมกับ วิชา พล.101 ทฤษฎี หลักการ การฝกทักษะและเทคนิคเบื้องตน ของการเตนลีลาศ การแตงกาย มารยาทในการลีลาศ พล.115 จักรยาน 1 (0-2-1) PS.115 Cycling วิชาบังคับกอน: สอบผานหรือศึกษาพรอมกับ วิชา พล.101 ศึกษาเกี่ยวกับประโยชน หลักการขี่จักรยาน ประเภทของการแขงจักรยาน มารยาท กฎจราจรและความ ปลอดภัยในการขี่จักรยาน การดูแลรักษาจักรยานและอุปกรณ วิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 2 ของคณะ น.150 สิทธิขั้นพื้นฐาน 3 ( 3-0-6 ) LA.150 Fundamental Rights ความหมาย ความสําคัญของสิทธิมนุษยชน และสิทธิขั้นพื้นฐานตามรัฐธรรมนูญของไทย ประวัติความ เปนมา วิวฒนาการ ประเภทและการคุมครองสิทธิขั้นพื้นฐานในระบบกฎหมายตาง ๆ ั

32
น.209 หลักกฎหมายแพงและพาณิชย 3 ( 3-0-6 ) LA.209 Civil and Commercial Law หลักทั่วไปของกฎหมายแพงและพาณิชยในลักษณะ 1. บุคคล (1. บุคคลธรรมดา-สภาพบุคคล, ความสามารถ, สถานะและการจดทะเบียน, ภูมิลําเนา, การสิ้น สภาพบุคคล 2. นิติบุคคล) 2. ทรัพย (ประเภทและทรัพยสิทธิ) 3. นิติกรรม (หลักทั่วไป, การแสดงเจตนา, โมฆะและโมฆียะกรรม, เงื่อนไข, เงื่อนเวลา, ระยะเวลาอายุ ความ) 4. หนี้และสัญญา ิ 3 ( 3-0-6 ) น.246 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับทรัพยสนทางปญญา LA.246 Introduction to Intellectual Property วิชาบังคับกอน : เปนนักศึกษานอกคณะนิติศาสตรตั้งแตชั้นปที่ 2 ขึ้นไป สอนความรูพื้นฐานการใหความคุมครอง "ผลงานสรางสรรคอันเกิดจากความคิดของมนุษย" เหตุผลและ ความจําเปนในการใหความคุมครอง ประโยชนที่จะไดรับจากการคุมครอง ตลอดจนการบังคับสิทธิที่เกิดจากการ คุมครองโดยยกตัวอยางกฎหมายทรัพยสินทางปญญาที่มีอยู โดยเฉพาะอยางยิ่งกฎหมายที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวัน ของนักศึกษามากที่สุด เชน กฎหมายลิขสิทธิ์และเครื่องหมายการคา พบ.291 ธุรกิจเบื้องตน 3 (3-0-6) BA.291 Introduction to Business ศึกษาลักษณะของธุรกิจ สภาพแวดลอม และรูปแบบความเปนเจาของธุรกิจ การบริหารธุรกิจ กิจกรรมทาง ธุรกิจดานการผลิต การตลาด การเงิน การบัญชี การบริหารสารสนเทศ และการบริหารทรัพยากรมนุษย ทั้งนี้เพื่อปู พื้นฐานแนวความคิดของการบริหารธุรกิจ และใหเกิดความคิดรวบยอดผานการจัดทําแผนธุรกิจ หมายเหตุ เปนวิชาสําหรับนักศึกษานอกคณะพาณิชยฯ ที่ประสงคจะเรียนรายวิชาตาง ๆ ของคณะฯ เปนวิชา โท ควรจะเรียนวิชา พบ.291 กอนวิชาอื่น เพื่อใชเปนพื้นฐานในการเรียนวิชาตาง ๆ ของคณะพาณิชยฯ ทอ.201 หลักการบริหาร 3 (3-0-6) HO.201 Principles of Management ศึกษาลักษณะของการบริหาร วิวัฒนาการของแนวความคิดและทฤษฎีทางการบริหาร ศึกษาหนาที่การ บริหาร ไดแก การวางแผน การจัดองคการ การนําหรือการบังคับบัญชา และการควบคุม โดยวิชานี้จะมุงเนนถึง ความสัมพันธระหวางกันของหนาที่ดังกลาวและผลกระทบของสภาพแวดลอมภายนอกที่มีตอองคการ แนวโนมใหมๆ ของการบริหาร รวมทั้งศึกษาเรื่องจริยธรรมและความรับผิดชอบตอสังคมของนักบริหาร

33
ศ.210 เศรษฐศาสตรเบื้องตน 3 (3-0-6) EC.210 Introductory Economics (เฉพาะนักศึกษานอกคณะเศรษฐศาสตรเทานั้น และจะไมนับหนวยกิตให หากสอบได วิชา ศ. 211 หรือ ศ. 212 หรือ ศ. 213 หรือ ศ. 214 กอนหรือหลัง หรือกําลังศึกษาวิชาเหลานี้อยู) หลักทั่วไปของเศรษฐศาสตรจุลภาคและมหภาค ในสวนของเศรษฐศาสตรจุลภาค ศึกษาถึงอุปสงคและ อุปทานของสินคา พฤติกรรมผูบริโภค การผลิต และตนทุน พฤติกรรมของหนวยผลิต โครงสรางและพฤติกรรมการ แขงขันของหนวยผลิตในตลาดที่มีการแขงขันอยางสมบูรณ ตลาดผูกขาด และตลาดที่ไมสมบูรณ แนวคิดความ ลมเหลวของตลาด และบทบาทของภาครัฐในการแทรกแซงตลาด ในสว นของเศรษฐศาสตรม หภาค ศึกษาถึ ง เปาหมาย และปญหาในทางเศรษฐกิจมหภาค ความเขาใจถึงรายไดประชาชาติ ระบบการเงินและการธนาคาร นโยบาย การเงินและการคลังในการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ รวมทั้งการนําดัชนีชี้วัดเศรษฐกิจมหภาคไปใชในการ วิเคราะหสถานการณทางเศรษฐกิจ ในภาคตางประเทศศึกษาถึงความสําคัญของการคาและการเงินระหวางประเทศ และขอโตแยงระหวางการคาเสรี และการปกปองตลาด ศ.213 เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน 3 (3-0-6) EC.213 Introductory Microeconomics (สําหรับนักศึกษานอกคณะเศรษฐศาสตร ) แนวคิดและการประยุกตใชทฤษฎีเศรษฐศาสตรเกี่ยวกับปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ การทํางานของกลไก ราคา อุปสงคและอุปทานของสินคา ทฤษฎีเบื้องตนเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค พฤติกรรมการผลิต ตนทุนการผลิต การ กําหนดราคาสินคาในตลาดที่มีการแขงขันสมบูรณ และไมสมบูรณรูปแบบตางๆ เปรียบเทียบประสิทธิภาพการจัดสรร ทรัพยากรการผลิตในตลาดแขงขันสมบูรณและตลาดอื่นๆ ทฤษฎีเบื้องตนเกี่ยวกับตลาดปจจัยการผลิต และความ ลมเหลวของตลาด จ.211 จิตวิทยาทั่วไป 3 (3-0-6) PY. 211 General Psychology ประวัตและวิธการทางจิตวิทยา พื้นฐานทางชีววิทยา พฤติกรรม พัฒนาการของมนุษย แรงจูงใจ การรับรู การ ิ ี เรียนรู เชาวนปญญา อารมณ บุคลิกภาพและพฤติกรรมทางสังคมของบุคคลและกลุม 3 (3-0-6) จ.228 จิตวิทยาความสัมพันธระหวางบุคคล PY.228 Psychology of Interpersonal Relations ความสัมพันธระหวางบุคคลในสังคม เนนพื้นฐานการแสดงออกของบุคคลในสังคม การเขาใจตนเองและ บุคคลอื่น การพัฒนาตนเอง การสื่อสาร และการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การปรับตัวในสังคม ความแตกตางระหวาง บุคคล ทั้งในดานแรงจูงใจ และเจตคติตอบุคคลในกลุม ตลอดจนการใชหลักจิตวิทยามนุษยนิยมเพื่อใหมีมนุษยสัมพันธ ที่เหมาะสม

34
อ. 221 การอานเชิงวิเคราะหขอมูล 3 (3-0-6) EG.221 Reading for Information วิชาบังคับกอน : สอบได สษ. 172 หรือไดรบยกเวน สษ. 172 ั กลวิธีตาง ๆ ที่ใชในการอานงานเขียนประเภทใหขอมูล วิเคราะหโครงสรางภาษา เนื้อหาและวิธีการนําเสนอ ขอมูลของผูเขียน ฝกแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับงานที่อานโดยการอภิปราย รวมทั้งฝกสรุปขอมูล ที่ไดจากการอานโดย เขียนเปนเคาโครง และเขียนสรุปความ อ. 241 การฟง-การพูด 1 3 (3-0-6) EG.241 Listening-Speaking 1 วิชาบังคับกอน : สอบได สษ. 172 หรือไดรับยกเวน สษ. 172 ฝกสนทนาตามสถานการณในชีวิตประจําวัน ฝกทักษะในการฟงระดับตน ฝกการออกเสียงที่ถูกตอง เรียนรู วัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมที่เกี่ยวของกับสถานการณตาง ๆ ที่กําหนดใหเพื่อสรางความมั่นใจในการสนทนา ภาษาอังกฤษ ค.218 แคลคูลัสสําหรับวิทยาศาสตร 1 3 (3-0-6) MA.218 Calculus for Science 1 ลิมิตและความตอเนื่องของฟงกชัน อนุพันธของฟงกชันพีชคณิตและฟงกชันอดิศัย กฎลูกโซ อนุพันธโดย ปริยาย อนุพันธอันดับสูง ทฤษฎีบทของรอล ทฤษฎีบทคามัชฌิม การประยุกตของอนุพันธ ผลตางเชิงอนุพันธและการ ประยุกต ปฏิยานุพันธ ปริพันธไมจํากัดเขต เทคนิคของการหาปริพันธ ปริพันธจํากัดเขตและการประยุกตในทาง เรขาคณิตและฟสิกส ํ หมายเหตุ : ไมนับหนวยกิตใหผูที่กาลังศึกษาหรือสอบได ค.111 หรือ ค.211 หรือ ค.216 คม. 228 เคมีวิเคราะห 3 (2-3-4) CM.228 Analytical Chemistry วิชาบังคับกอน : สอบได วท. 123 หนวยความเขมขน การคํานวณทางเคมีวิเคราะห การเลือกวิธีวิเคราะห การสุมตัวอยาง การวิเคราะหโดยการ ชั่งน้ําหนัก สมดุลกรด-เบสและการเตรียมสารละลายบัฟเฟอร การไทเทรตกรดเบส การไทเทรตที่ใชปฏิกิริยาการเกิด สารประกอบเชิง ซอ น การไทเทรตที่ ใ ชป ฏิกิ ริย ารี ดอกซ การไทเทรตที่ใ ชป ฏิ กิริ ยาตกตะกอน การวิเ คราะหด ว ย เคมีไฟฟา เทคนิคการวิเคราะหดวยโครมาโทกราฟฟ (สําหรับนักศึกษานอกสาขา)

35
วย.106 เทคนิคในการสื่อสารและการนําเสนอ 2(2-0-4) วิชาบังคับกอน : เทคนิคการอานจับใจความ และประเด็นสําคัญ รวมทั้งการสรุป การเขียนรายงาน การเขียนสรุปผลการ ทดลอง การนําเสนอขอมูลในแบบตาราง รูป หนวย สัญลักษณและสมการทางคณิตศาสตร ศัพทบัญญัติและการทับ ศัพท รูปแบบของรายงาน การนําเสนอผลงานและเทคนิคในการนําเสนอผลงาน สผ.162 ฟสิกสประยุกตสําหรับสิ่งแวดลอมสรรคสราง 3 (2 – 2 – 5) AP.162 Applied Physics for Built Environment หลักการและปฏิบัติการฟสิกสที่จําเปนในการประยุกตกับสิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น นิยามของอนุภาค และวัตถุแข็งเกร็ง ปรากฏการณของมวลตามกฎของนิวตัน สมดุลตามแนวแรง พื้นฐานเกี่ยวกับงาน พลังงานศักย พลังงานจลน และสปริงเพื่ออธิบายวัตถุที่อยูนิ่งและเคลื่อนที่ และเพื่อการออกแบบโครงสรางอาคาร อุณหพลศาสตร เบื้องตนเพื่อเปนพื้นฐานของการไหลของอากาศ และการถายเทความรอน กฏกาซในอุดมคติ และการผสมของกาซ และไอน้ํา เพื่อเปนพื้นฐานสําหรับไซโครเมทริกซ คุณสมบัติของคลื่นเสียงเพื่อการออกแบบการปองกันและเพิ่มระดับ เสียงสูอาคาร คุณสมบัติของคลื่นแมเหล็กไฟฟา คลื่นแสงและคลื่นความรอน เพื่อเปนพื้นฐานสําหรับการออกแบบ กระจกอาคาร สผ.163 ประวัติศาสตรศิลปะ 3 (3 – 0 – 6) AP.163 History of Art วิวัฒนาการศิลปะทั้งตะวันตกและตะวันออก โดยเนนชวงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงลักษณะและรูปแบบที่ สําคัญทางศิลปะ ศึกษาถึงปจจัยทางวัฒนธรรม สังคมและเศรษฐกิจที่สงผลตอรูปแบบของศิลปะในภูมิภาคตางๆ รวมถึงศิลปะยุโรปและเอเชียตะวันตก เอเชียใต เอเชียตะวันออกเฉียงใต ํ 3 (3 – 0 – 6) สผ.164 เศรษฐศาสตรสาหรับสิ่งแวดลอมสรรคสราง AP.164 Economics of Built Environment แนวคิดพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร ปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ความรูเรื่องเศรษฐศาสตรจุลภาคกับการ ประยุกตใชในกระบวนการการออกแบบสิ่งแวดลอมสรรคสราง และการวิเคราะหความเปนไปไดของโครงการ และ ความรูเรื่องเศรษฐศาสตรมหภาคและสภาพทั่วไปของเศรษฐกิจไทยในปจจุบันที่มีผลกระทบตอการลงทุนในโครงการ กอสราง ผม.103 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการวางแผน 3 (1 – 4 – 4) UP.103 Information Technology Management for Planning หลักการ แนวความคิด องคประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ และ การใชคอมพิวเตอรในการจัดการ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อประยุกตใชในการวางแผน โดยเนนระบบสารสนเทศของชุมชนและหนวยงานที่มีหนาที่เก็บ รวบรวมขอมูลดานประชากร เศรษฐกิจ สังคมและกายภาพ การจัดการและออกแบบฐานขอมูลเพื่อการวิเคราะหและ สนับสนุนการตัดสินใจ

36
พศ.100 จริยศาสตรพื้นฐาน 1 (1-0-2) MD.100 Ethical basic พฤติกรรมของมนุษย ปจจัยที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมของมนุษย สิทธิเสรีภาพและหนาที่ของประชาชน การสราง มนุษยสัมพันธและการอยูรวมกับผูอื่น หลักพื้นฐานของจริยศาสตร การวิเคราะหและตัดสินใจทางจริยศาสตร สษ.202 ภาษาอังกฤษสําหรับการทํางาน 3 (3-0-6) EL.202 English for Work วิชาบังคับกอน: สอบได สษ. 172 วิชานี้มีจุดมุงหมายในการพัฒนาความสามารถในการเขียนจดหมายสมัครงาน จดหมายธุรกิจ และบันทึก ชวยจําทางธุรกิจ ฝกฝนการฟงและการพูด ดวยการตอบคําถามในการสัมภาษณเปนภาษาอังกฤษ สษ.217 การฟงและการพูดดานวิชาการ 3 (3-0-6) EL.217 Speaking and Listening for Academic Purposes วิชาบังคับกอน: ไมมี วิชานี้มีจุดมุงหมายเพื่อใหนักศึกษาฝกทักษะการพูดเพื่อการสื่อสารและการฟงที่มีเนื้อหาเปนลักษณะเชิง วิชาการ จากสถานการณที่หลากหลาย และมีจุดประสงคเชิงวิชาการที่แตกตางกันออกไป รวมทั้งศึกษาเทคนิคและ กลวิธีการพูดในที่สาธารณะ ตลอดจนการพูดเพื่อรายงานหนาชั้น และการแสดงความคิดเห็นในกลุมผูเรียน และในดาน การฟงจะศึกษาและฝกฟงจากแหลงขอมูลที่หลากหลาย เชน การฟงการบรรยาย การสัมมนา และการฟงขาว สษ.317 การอานและการเขียนดานวิชาการ 3 (3-0-6) EL.317 Reading and Writing for Academic Purposes วิชาบังคับกอน: สอบได สษ. 217 วิชานี้มีจุดมุงหมายเพื่อใหนักศึกษาฝกทักษะการอานและการเขียนเชิงวิชาการ จากสื่อที่หลากหลาย เชน ตําราเรียน บทความ รายงาน และ หนังสือพิมพ ในสวนการเขียนจะฝกการวางโครงรางกอนเขียน การเขียนฉบับราง การปรับปรุงและแกไขราง เรียนรูการเขียนจากระดับยอหนาไปจนถึงระดับการเขียนเรียงความ โดยมีการนําเสนอเริ่ม จากการเขียนประโยคนํา เนื้อหารายละเอียดที่เหมาะสม ตลอดจนถึงบทสรุปที่สัมพันธสอดคลองกัน สษ.295 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 1 3 (3-0-6) EL.295 Academic English 1 วิชาบังคับกอน: สอบได สษ. 172 เปนวิชาที่เกี่ยวของกับการอาน เขียน ฟงและพูด ตลอดจนการใชโครงสรางและสํานวนที่ใชในบทความ และ บทเรียนทางคณิตศาสตร สถิติ และคอมพิวเตอร โดยเนนทักษะการอานเพื่อความเขาใจ ตลอดจนสามารถจดบันทึกยอ จากการอานและการฟงไดอยางมีประสิทธิภาพ

37
สษ.296 ภาษาอังกฤษเพื่อจุดประสงคทางวิชาการ 1 3 (3-0-6) EL.296 English for Academic Purposes 1 วิชาบังคับกอน: สอบได สษ. 172 วิชานี้เกี่ยวของกับการอาน เขียน ฟง และพูด ตลอดจนการใชโครงสรางและสํานวนที่ใชใน บทความ และบทเรี ย นทางวิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี โดยเน น ทั ก ษะการอ า นเพื่ อ ความเข า ใจ ตลอดจน สามารถจดบันทึกยอจากการอานและการฟงไดอยางมีประสิทธิภาพ สษ.396 ภาษาอังกฤษเพื่อจุดประสงคทางวิชาการ 2 3 (3-0-6) EL.396 English for Academic Purposes 2 วิชาบังคับกอน: สอบได สษ. 296 เป น วิ ช าที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การฟ ง พู ด อ า นและเขี ย น โดยเน น การเขี ย นรายงานการทดลองทาง วิ ท ยาศาสตร แ ละเทคโนโลยี การเขี ย นสรุ ป รายงานการทดลองจากการอ า นและฟ ง และการอภิ ป รายผล การทดลองไดอยางมีประสิทธิภาพ วิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร วท.111 ชีววิทยา 1 3 (3-0-6) SC.111 Biology 1 ชีววิทยาเบื้องตนของสัตว โครงสรางและกระบวนการทํางานเพื่อการดํารงชีพของสัตวตั้งแตระดับโมเลกุล เซลล เนื้อเยื่อ อวัยวะ ระบบ ถึงระดับชีวิต โครงสรางและหนาที่ของกรดนิวคลีอิกในการถายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม การจัดจําแนกสัตว การเจริญเติบโตและพัฒนาการ พฤติกรรม วิวัฒนาการ และนิเวศวิทยาของสัตว วท.114 ชีววิทยา 3 (3-0-6) SC.114 Biology ชนิดและโครงสรางของเซลล โครงรางและการเคลื่อนไหวของเซลล พลังงานชีวภาพ การหายใจระดับ เซลล โครงสรางและการทํางานของเยื่อบุผนังเซลล การสืบพันธุระดับเซลล การสื่อสารระหวางเซลล พันธุศาสตรของ เมนเดล โครงสราง การทํางานและเมแทบอลิซึมของสารชีวโมเลกุล และการแสดงออกของยีนและการควบคุม วท.123 เคมีพ้นฐาน ื 3 (3-0-6) SC.123 Fundamental Chemistry ทฤษฎีอะตอม โครงสรางอิเล็กตรอนของอะตอม สมบัติของธาตุตามตารางธาตุ พันธะเคมี ออรบิทัลเชิง อะตอมและเชิงโมเลกุล รูปรางโมเลกุล สารประกอบเชิงซอน เคมีนิวเคลียร กัมมันตภาพรังสี ปริมาณสัมพันธ สถานะ ของสาร ชนิดของปฏิกิริยาเคมี สารละลายและคอลลอยด สมดุลเคมี เคมีไฟฟา อุณหพลศาสตรเคมี จลนศาสตรเคมี เคมี อินทรียเบื้องตน และเคมีสิ่งแวดลอม

38
วท.125 เคมีอินทรียทั่วไป 3 (3-0-6) SC.125 General Organic Chemistry ไฮบริไดเซชัน การเรียกชื่อและสมบัติของสารอินทรีย สเตริโอเคมี ปฏิกิริยาและกลไกของสารอินทรีย สารประกอบไฮโดรคารบอน อัลกอฮอล อีเทอร สารประกอบคารบอไนล กรดคารบอซิลิกและอนุพันธ เอมีน คารโบไฮเดรต ไขมัน และกรดอะมิโน วท.128 เคมีสําหรับวิทยาศาสตรการแพทย 3 (3-0-6) SC.128 Chemistry for Medical Science อุณหพลศาสตรเคมี สมดุลเคมี จลนพลศาสตรเคมี ปฎิกิริยาออกซิเดชัน-รีดักชัน ไฮบริไดเซชันของคารบอน สเตอริโอเคมี การเรียกชื่อและปฏิกิริยาของสารอินทรีย แอลเคน แอลคีน แอลไคนและแอโรมาติกไฮโดรคารบอน แอลคิลและแอริลเฮไลด แอลกอฮอลและสารประกอบฟนอล อีเทอร แอลดีไฮดและคีโทน กรดคารบอกซิลิกและอนุ พันธของกรดคารบอกซิลิก เอมีน คารโบไฮเดรต กรดอะมิโน และลิพิด วท.136 ฟสิกส 3 (3-0-6) SC.136 Physics หลักการทางกลศาสตร กลศาสตรของไหล อุณหพลศาสตร คลื่นกล คลื่นแมเหล็กไฟฟา ทัศนศาสตร ฟสิกสยุคใหม การประยุกตดานวิทยาศาสตรสุขภาพและการแพทย วท.161 ปฏิบัติการชีววิทยา 1 SC.161 Biology Laboratory 1 วิชาบังคับกอน : เคยศึกษา หรือ ศึกษาพรอมกับ วท. 111 ปฏิบัติการเสริมความรูทางทฤษฎีรายวิชา วท.111 วท.173 ปฏิบัติการเคมีพื้นฐาน SC.173 Fundamental Chemistry Laboratory วิชาบังคับกอน : เคยศึกษา หรือศึกษาพรอมกับ วท.123 ปฏิบัติการเสริมความรูทางทฤษฎีวิชา วท. 123 วท.175 ปฏิบัติการเคมีอินทรียท่วไป ั SC.175 General Organic Chemistry Laboratory วิชาบังคับกอน : เคยศึกษาหรือศึกษาพรอมกับ วท.125 ปฏิบัติการเสริมความรูทางทฤษฎีวิชา วท.125 1 (0-3-0)

1 (0-3-0)

1 (0-3-0)

39
วท. 178 ปฏิบัติการเคมีสําหรับวิทยาศาสตรการแพทย SC 178 Chemistry for Medical Science Laboratory วิชาบังคับกอน : เคยศึกษา หรือศึกษาพรอมกับ วท.128 ปฏิบัติการเสริมความรูทางทฤษฎีวิชา วท.128 Experiments related to contents in SC128 1 (0-3-0)

วท.186 ปฏิบัติการฟสิกส 1 (0-3-0) SC 186 Physics Laboratory ปฏิบัติการเกี่ยวกับ การวัดและความคลาดเคลื่อน การเคลื่อนที่ กระจกและเลนส คลื่นเสียง สนามไฟฟา เครื่องมือวัดทางไฟฟา กฎของกาซ และฟสิกสยุคใหม

40
คําอธิบายรายวิชาภาษาอังกฤษ (เฉพาะวิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 1 และสวนที่ 2 ที่เปนวิชาสวนกลางของมหาวิทยาลัย) Humanities TU.110 Integrated Humanities 3 (3-0-6) To study the history of human beings in different periods, reflecting their beliefs, ideas, intellectual and creative development. To instill analytical thinking, with an awareness of the problems that humanities are confronting, such as the impacts of: technological development, violence, wars, and various world crises so that we can live well in a changing world. TU.111 Thailand in Historical, Social and Cultural Perspective 3 (3-0-6) To explore Thai social, cultural and intellectual backgrounds from the old days (known as the Kingdom of Siam) until today. To emphasize the formation of the Thai identity as well as directions towards the development of Thai culture and society in the globalization context. TU.112 Heritage of the Pre-modern World 3 (3-0-6) To study significant problems and solutions in the Pre-modern World Society, which have been passed on to various institutions, including those responsible for religion, intellect, culture, society, economics, and politics in the Present World Society. TU.113 Fundamentals of Philosophy and Religion 3 (3-0-6) To equip learners with the vital philosophical and religious concepts, which have influenced attitudes, morality, and ways of life. To train learners to think analytically and critically towards certain phenomena in order that they can apply their knowledge and understanding to their own social situations. TU.115 Man and his Literary Creativity 3 (3-0-6) To study anecdotal stories, reflected through creative literary works in the print media, films, electronic media and other modern media in order to compare the past and present world views regarding social values, beliefs as well as faiths of those artists and creators. To explore the association of people and those creative works in terms of their relationship with our ways of life today.

41
TU.116 Man and Arts: Visual Art, Music and Performing Arts 3 (3-0-6) This course is a study of art in relation to its function and the development of people, society and environment by focusing on various creative works, such as visual arts, music and performing arts, depicting the culture and perception of mankind. The course also aims to instill learners with real awareness of art values through personal experience, and also the appreciation of the aesthetic values of creative works. An emphasis is placed upon the influence of art on Thai values and the Thai way of life. TU.117 Development of the Modern World 3 (3-0-6) To study the development of world societies from 1500 A.D. to the present. An emphasis is placed upon the relationship of economy, political system, administration, society, culture, science and technology, leading to modern world changes. TU.118 Thai Folk Cultural Landscape 3 (1-4-7) To offer a field trip study during the summer semester by means of an activity-oriented cultural camp. The camp aims to provide learners with basic knowledge of cultural, ecological and local landscapes, as well as local history, which are foundations of ideology, philosophy of life, inscriptions, folk tales, legendary tales, literature, customs, architecture, arts, performing arts, folk plays of ethnic groups and local ways of life. The contents are important for the continuation and formation of a unique identity and culture, and also for dynamic change, adaptation, the cultural spread and interaction with other nations, and ways to make Thai culture sustainable. Social Science TU.120 Integrated Social Sciences 3 (3-0-6) This interdisciplinary course focuses on the fact that social sciences play an important role for society. The course explains the origins of the social sciences and the modern world, the separation of social sciences from pure sciences, and the acceptance of the scientific paradigm for the explanation of social phenomenon. It also involves the analysis of important disciplines, concepts, and major theories of social sciences by pointing out strengths and weaknesses of each one. Included is the analysis of contemporary social problems, using knowledge and various perspectives—-individual, group, macro-social, national and world perspectives-- to view those problems. TU.121 Man and Society 3 (3-0-6) To study general characteristics of human societies, elements of social structures and procedures, social changes and evolution resulting from such factors as environment, and technology, etc. To analyze various kinds of societies to find out the relationship among elements within each society, and the relationship between society and environment. To strengthen ethics and awareness on social responsibilities both in national and international levels.

42
TU.122 Law in Everyday Life 3 (3-0-6) To study general aspects of law as correct patterns of human conduct in society. To equip learners with basic principles of public law (rules of law), and its values which are associated with citizens’ moral core. To provide basic knowledge in public law and private law, involving the issues of rights and duties, dispute settlement, Thai Justice procedures, the usage and interpretation of law principles, with an emphasis on case studies in our daily lives. TU.124 Society and Economy 3 (3-0-6) To provide guidelines for the study and analysis of society and economy. To analyze social and economic evolution in Thailand and worldwide. To emphasize the influence of culture and institutions on the social and economic system. Sciences and Technology TU.130 Integrated Sciences and Technology 3 (3-0-6) To study basic concepts in science, scientific theory and philosophies. Standard methods for scientific investigations. Important evolutions of science and technology influencing human lives as well as the impacts of science and technology on economies, societies and environments. Current issues involving the impacts of science and technology on moral, ethics and human values. TU.131 Man and Physical Science 3 (3-0-6) To examine scientific methods and how to seek knowledge in an age of information, including their use in solving problems in everyday work. To understand the concepts, theories, and rules of the physical sciences focusing on the content that can be applied to enhance the quality of life. For example, the study of physics in relation to communication technology, medical technology, and the study of chemistry to improve one’s understanding of the right elements for use. In addition, a study of the basic knowledge of physical science to understand the natural phenomenon as showed in the news media. TU.142 Man and Biological Science 3 (3-0-6) To study the nature and origin of life, the evolution of life, genetics, reproduction and stages of human aging. Applying knowledge of life sciences for the benefit of agriculture, industry, medicine and the environment as well as the study of the impact of biotechnology on human life.

43
TU.143 Man and Environment 3 (3-0-6) To study the relationship between people and the environment by focusing on the coexistence of living things in a way that it creates balance, enhances optimal use, and helps to promote effective and long-lasting environmental management. To discuss the impacts of scientific and technological development on the environment, society, and economy as well as the importance of the environment in the present and future are for Mankind. AE106 Sustainability of Natural Resources and Energy 3 (3-0-6) To examine basic ecology for the benefit of the conservation of natural resources. The course also focuses on: characteristics of environmental pollution and social impacts on society; the concepts about sustainability of natural resources and energy analysis; decision making, ethical issues related to the environment, and sustainable design. The topic also concerns energy consumption in Thailand in various aspects, such as: transportation, industry, and office buildings. Another focus includes: guidelines for sustainable energy development in Thailand regarding electricity generation, energy conservation, alternative energy, solar energy, biomass for energy, ethanol production, biodiesel production, clean coal technology, and nuclear energy. Mathematics and Computers TU.151 General College Mathematics 3 (3-0-6) (A non-credit subject to the students’ faculty code of 02, 04 and from 09 to 14,16,17) To review sets, real number systems, relations, functions and applications, introduction to linear programming, logic, measurement of interest, installment payment and income tax, descriptive statistics, index number, introduction to probability, basic concepts of inferential statistics, statistical packages. TU.152 Fundamental Mathematics 3 (3-0-6) (This course is for students who have already studied mathematics in high school and have gained not less than 16 credits or as demanded by their faculty.) To prove logical rules, methods of proofs, arguments, mathematical induction, proofs of theorems of inequalities and absolute values, inequalities solving, functions, type of functions, applications of functions, curve sketching, partial fractions decomposition, solving of simple systems of linear equations. TU.153 General Knowledge about Computers 3 (3-0-6) To study the essential components of computer systems including hardware, software, data and its processing; basic data communication, network and the Internet, principles of problem solving using computers and software packages, security, ethics and laws related to computer usage and information systems.

44
TU.154 Mathematical Foundation 3 (3-0-6) To prove logical rules, methods of proofs, quantifiers, arguments, mathematical induction, structure of the real number system, binomial theorem and multinomial theorem, translation of axes, rotation of axes and sketching of graphs of conic sections, curve sketching, increasing functions and decreasing functions, partial fractions decomposition, introduction to number theory. TU.155 Elementary Statistics 3 (3-0-6) To identify the nature of statistical problems; review descriptive statistics, probability, random variables and some probability distributions (binomial, poison and normal), sampling technique and sampling distributions; estimation and hypotheses testing for one and two populations; one-way analysis of variance; simple linear regression and correlation; chi-square test. TU.156 Introduction to Computers and Programming 3 (3-0-6) Basic concepts of computer systems, electronic data processing concepts, system and application software, algorithms, flowcharts, data representation, program design and development methodology, problem solving using high-level language programming. SC142 Mathematics for Science 3 (3-0-6) To find out matrices, determinants, methods for finding solutions of system of linear equations, derivatives of algebraic functions and transcendental functions, maximum and minimum of functions, integrals and techniques of integrations, series and convergence tests for series, first order ordinary differential equations. Languages Thai TH.160 Basic Thai 3 (3-0-6) (For foreign students or allowed by Thai Department) Basic Thai language – alphabet, vocabulary, phrases, and sentences. It also provides the four basic skills: listening, speaking, reading and writing. Remarks 1. Students must be a foreigner or a Thai citizen who cannot use Thai properly. 2. If a student has proficiency in the basic skills, they should enroll in TH.161. 3. As required by the curriculum, students must enroll in two courses in Thai – TH.161 and TH.162, or TH.161 and TH.163. For students who enroll in TH.160, the program designates TH.161 as the second requisite course.

45
TH.161 Thai Usage 3 (3-0-6) Thai language usage skills: listening, reading, writing and speaking, with emphases on drawing the main idea, communicating knowledge, thoughts and composing properly. TH.162 Report Writing 3 (3-0-6) The methodology of report writing, enabling students to search for information to make systematic references and to practice report writing skills. TH.163 Communicative Writing in the organization 3 (3-0-6) The methodology of communicative writing in an organization: the practice of writing notes, letters and meeting reports. English EL 070 English Course 1 0 (3-0-6) This is a remedial course specially designed to prepare first-year students to be able to study advanced English courses. EL 171 English Course 2 3 (3-0-6) This intermediate course aims to develop the four English skills: listening, speaking, reading and writing. Students are given more practice in listening comprehension, reading various printed materials and writing short paragraphs. EL 172 English Course 3 3 (3-0-6) This advanced course aims to further develop students' English skills. Students practice listening to news and dialogues, reading more complex passages, and writing various types of paragraphs. Chinese Objectives 1. To inform students of phonetics and the articulation of Chinese 2. To equip students with the ability to write the Chinese alphabet and the rules in writing it 3. To inform students of the basic structure of Chinese 4. To enable students to be able to communicate using basic Chinese

46
CH171 Chinese 1 3 (3-0-6) To study the basic structure of Chinese including the phonetics and grammar and to learn to write 250 Chinese characters and to study vocabulary using these characters. CH172 Chinese 2 3 (3-0-6) Requirements: students should pass CH 171, pass the test, or approval from the lecturer. Further the studies done in CH171 by studying more complex sentences, and by learning 300 more Chinese characters. French Objectives 1. To have students study the basic grammar and vocabulary of French in order to use the language fluently. 2. To have students practice listening comprehension and improve their speaking skill with an emphasis on correct pronunciation. 3. To have students improve their reading and writing skills with an emphasis on the ability to use the language correctly. 4. To have students learn general knowledge about France and her culture. 5. To provide students with a background knowledge of French so as to prepare them for more advanced courses. FR 171 French 1 3 (3-0-6) Requirements: students are accepted into the course based on: the Placement Test in French, their score in the French admission test, or approval from the lecturer. To study the basic grammar of French with an emphasis on improving reading and writing skills, practicing listening comprehension, improving speaking skill with correct pronunciation, and also studying the culture and general knowledge of France. French 2 3 (3-0-6) Requirements: students are accepted into the course based on: the Placement Test in French; a minimum grade of D in FR 171 or approval from the lecturer. To study the grammar of French and the cultural knowledge of France and also to practice all four skills at a more advanced level. FR 172

47
Japanese Objectives 1. To understand the four basic skills--listening, speaking, reading, and writing—at the beginner’s level. This course is to prepare students who have no prior knowledge of Japanese to study further at advanced levels. 2. To communicate in daily situations effectively. 3. To understand the culture, tradition and general knowledge of native Japanese speakers. JP 171 kanji. 2. To study greeting expressions used in everyday life and to develop the four basic skills--listening, speaking, reading, and writing. 3. To be able to understand 600 words and 80 basic kanji letters. JP 172 Japanese 2 3 (3-0-6) Pre-requisite: JP171 This advanced course aims to further develop the four basic skills--listening, speaking, reading, and writing-- to communicate in Japanese everyday life. To know 700 words and 220 kanji letters. Students are expected to be able to know approximately 1,300 words and 300 kanji letters. Russian Objectives 1. To understand the four basic skills--listening, speaking, reading, and writing-- at the beginner’s level. 2. To have students become familiar with Russian tradition and culture and to gain knowledge about the Russian Federation. 3. To prepare the students for more advanced courses in Russian studies in the future. RS171 Russian 1 3 (3-0-6) To understand the four basic skills--listening, speaking, reading, and writing-- at the beginner’s level with an emphasis on phonetics and the introduction of fundamental grammatical structures. Russian 2 3 (3-0-6) Pre-requisite: Russian171 This course aims to further develop students’ skills--speaking, listening, reading, and writing-- at a more advanced level. In this course, students are expected to be able to communicate in Russian in everyday situations. RS172 Japanese1 3 (3-0-6) 1. To understand phonology and the 3 different kinds of Japanese writing system: hiragana, katakana and

48
German Objectives for students who have no prior knowledge of German 1. To understand the fundamental structure of the German language with an emphasis on grammar, reading and pronunciation and to prepare students for more advanced German courses. 2. To practice and develop the four skills--listening, speaking, reading, and writing-- to have students become familiar with German language and to be able to communicate in spoken and written German at the basic level. 3. To understand the culture, tradition and the general knowledge of native German speakers. German 1 3 (3-0-6) This course is designed for students who have no prior knowledge of German. Basic sentence structures of the language will be emphasized. The students will practice reading and pronunciation and develop the four basic skills--reading, listening, speaking and writing. GR172 German 2 3 (3-0-6) Pre-requisite: Pass GR171 or Placement Test or approved by German Department To study grammar, reading, speaking, and writing at a more advanced level and to understand the lifestyles and attitude of German people and to understand a vocabulary of 1,500-2,000 words. Objectives for students who studied German during their high school 1. To review and develop the students’ ability in terms of structure and idioms and express usage at a higher level than in GR171 and GR172 and to encourage the students to use the language more appropriately and correctly. 2. To develop the skills in reading, listening, speaking and writing in the next level of GR171/GR172 with an emphasis on self-access learning skills. And also to give an opportunity for the students to practice and learn to do research by themselves. 3. To understand the German studies, opinions and attitudes of native German speakers and to have a broad vision and gain insights into the German language, which will give advantage to themselves in their studies of German language and literature. GR211 German 3 3 (3-0-6) Pre-requisite: To pass GR172 or pass German level at High School or the Placement Test or approval from the by German Department. To study vocabulary, grammar and structure with an emphasis on developing the four skills to prepare the students for more advanced courses. GR171

49
GR212 German 4 3 (3-0-6) Pre-requisite: To pass GR211 or pass the Placement Test or approve at from the German Department. A continuation of GR211. To study vocabulary, grammar and German structure in the next level of GR211 with a vocabulary of 3,500 to 4,000 words. Korean KO171 Korean 1 3 (3-0-6) In this course, students will be introduced to Korean pronunciation and alphabet writing. They will also study greeting expressions used in everyday life and fundamental grammatical structures. They will practice basic conversation and learn approximately 200 Korean words. KO 172 Korean 2 3 (3-0-6) As a continuation from KO 171, students will study basic Korean structures further. They will further study grammar and sentence construction and will be able to use Korean in daily life. They will learn approximately 300 new words. Health Education PS.101 Exercise and Sports for Healthy life 2 (2-0-4) This course aims to provide knowledge about physical and mental health as well as promoting health as whole. The major topics covered include: nutrition, meditation for health, principles of exercise, the correct way of playing sports, injury prevention and first aid. PS.102 Aerobic Dance for Health 1 (0-2-1) Pre-requisite course: having passed or currently taking PS.101 Theories, principles, skill practice and basic techniques of aerobic dance exercise. Yoga for Health Pre-requisite course: having passed or currently taking PS.101 Theories, principles, skill practice and basic techniques of Yoga exercise. 1 (0-2-1)

PS.103

PS.104

Body Fitness for Health 1 (0-2-1) Pre-requisite course: having passed or taking PS.101 Theories, principles, skill practice and basic techniques of exercise for muscle building, and promoting body strength and flexibility.

50
Self-Defense 1 (0-2-1) Pre-requisite course: having passed or currently taking PS.101 Theories, principles, skill practice and basic techniques of the different forms of self-defense. Knowledge taught is aimed to promote good health while suiting different genders and body shapes. PS.106 Recreation 1 (0-2-1) Pre-requisite course: having passed or currently taking PS.101 Theories and principles of recreation for the improvement of the quality of life. Principles and methods of organizing camps, involving the practice of collaborative living, leadership and being a good team member. PS.107 Mindfulness and Meditation 1 (0-2-1) Pre-requisite course: having passed or currently taking PS.101 Ways to mindfulness and meditation. The practice of meditation for study purposes and for maintaining the quality of life both at university and in everyday living. PS.108 Swimming 1 (0-2-1) Pre-requisite course: having passed or currently taking PS.101 Theories, principles, skill practice and basic techniques for different swimming strokes. The course also introduces the competition; rules used in competitions, equipment usage and safety regulations. PS.109 Track and Field 1 (0-2-1) Pre-requisite course: having passed or currently taking PS.101 Theories, principles, skill practice and basic techniques for short, middle and long distance running, relay races, hurdle races and the different varieties of field sports. The course also introduces competition rules used in competitions and safety regulations while playing. PS.110 Tennis 1 (0-2-1) Pre-requisite course: having passed or currently taking PS.101 Theories, principles, skill practice and basic techniques for playing tennis, as well as competition rules, equipment maintenance and safety regulations when playing tennis. PS.111 Badminton 1 (0-2-1) Pre-requisite course: having passed or currently taking PS.101 Theories, principles, skill practice and basic techniques for playing badminton, as well as competition rules, equipment maintenance and safety regulations while playing. PS.105

51
PS.112 Football 1 (0-2-1) Pre-requisite course: having passed or taking PS.101 Theories, principles, skill practice and basic techniques for playing football involved in the concept of teamwork, competition rules, equipment maintenance and safety regulations while playing football. PS.113 Basketball 1 (0-2-1) Pre-requisite course: having passed or currently taking PS.101 Theories, principles, skill practice and basic techniques, included in the concept of teamwork, competition rules, equipment maintenance and safety regulations while playing basketball. PS.114 Social Dance 1 (0-2-1) Pre-requisite course: having passed or currently taking PS.101 Theories, principles, skill practice and basic techniques, including clothing and appropriate manners while social dancing. PS.115 Cycling 1 (0-2-1) Pre-requisite course: having passed or currently taking PS.101 To study the benefits, principles, variety, manner, traffic rules, and safety regulations in cycling. As well as the maintenance of the bicycle and related equipment.

52
ภาคผนวก แบบฟอรมรายละเอียดในการเสนอขอปรับปรุงแกไขหลักสูตร การปรับปรุงแกไขหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป ฉบับป พ.ศ. 2547 เพื่อใชในปการศึกษา 2552 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 1. หลักสูตรฉบับดังกลาวนี้ไดรบทราบ/รับรองการเปดสอนจากสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเมื่อวันที่ ั .................................................................................................. 2. สภามหาวิทยาลัย/สถาบัน ไดอนุมัติการปรับปรุงแกไขครั้งนี้แลว ในคราวประชุมครั้งที่ .................................... เมื่อวันที่ ……………………………………………………… 3. หลักสูตรปรับปรุงแกไขนี้ เริ่มใชกับนักศึกษารุนปการศึกษา 2552 ตั้งแตภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2552 เปนตนไป 4. เหตุผลในการปรับปรุงแกไข 4.1 เพื่อใหหลักสูตรทันสมัยและสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน สภาพสังคมและเศรษฐกิจใน ปจจุบัน 4.2 เพื่อใหนักศึกษาสามารถนําความรูไปประยุกตในการปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ 5. สาระสําคัญในการปรับปรุงแกไข 5.1 วิชาศึกษาทั่วไป สวนที่ 1 5.1.1 เพิ่มเติมเนื้อหาเรื่อง Moral Sciences ในวิชา มธ. 120 สหวิทยาการสังคมศาสตร จํานวน 9 ชั่วโมง ใชเวลาศึกษาประมาณ 3 สัปดาหสุดทาย ประกอบดวยความรูเรื่องประวัติศาสตรมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ปญหานิติรัฐ และความเปนพลเมืองในกรอบความเขาใจวิชาธรรมศาสตรและการเมือง โดยจะใหนักศึกษาลงพื้นที่เพื่อสัมผัสชีวิต ชุมชนรอบๆ มหาวิทยาลัย 5.1.2 เพิ่มวิชาบังคับเลือกในหมวดคณิตศาสตร จํานวน 3 วิชา คือ มธ. 154 รากฐานคณิตศาสตร (3 หนวยกิต) มธ. 155 สถิตพื้นฐาน ิ (3 หนวยกิต) มธ. 156 คอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมเบื้องตน (3 หนวยกิต) 5.1.3 เปลี่ยนแปลงรหัสวิชา จํานวน 1 วิชา คือ วท. 141 รากฐานคณิตศาสตร เปน มธ. 154 รากฐานคณิตศาสตร 5.1.4 เปลี่ยนแปลงรหัสวิชาและชื่อวิชา จํานวน 2 วิชา คือ วท. 143 สถิติสาหรับวิทยาศาสตร ํ เปน มธ. 155 สถิตพื้นฐาน ิ วท. 153 ความรูเบื้องตนทางคอมพิวเตอร เปน มธ. 156 คอมพิวเตอรและการเขียน โปรแกรมเบื้องตน 5.1.5 เปลี่ยนแปลงชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา จํานวน 2 วิชา คือ ท. 160 การใชภาษาไทย เปน ท. 160 ภาษาไทยเบื้องตน ท. 161 การใชภาษาไทย 1 เปน ท. 161 การใชภาษาไทย

53
5.2 วิชาศึกษาทั่วไป สวนที่ 2 5.2.1 เปดวิชาใหมเพิ่ม จํานวน 1 หมวด คือ หมวดพลานามัย ประกอบดวยรายวิชาที่เกี่ยวกับสุขภาพ การออกกําลังกาย และการกีฬา จํานวน 15 วิชา 5.2.2 เพิ่มวิชาบังคับเลือกในหมวดคณิตศาสตร จํานวน 4 วิชา คือ มธ. 154 รากฐานคณิตศาสตร (3 หนวยกิต) มธ. 155 สถิตพื้นฐาน ิ (3 หนวยกิต) มธ. 156 คอมพิวเตอรและการเขียนโปรแกรมเบื้องตน (3 หนวยกิต) วท. 142 คณิตศาสตรสําหรับวิทยาศาสตร (3 หนวยกิต) 5.2.3 เปดรายวิชาใหมเพิ่ม จํานวน 19 วิชา ไดแก หมวดมนุษยศาสตร จํานวน 3 วิชา โดยใชรหัสวิชาเดิม คือ มธ. 111 ประเทศไทยในมิติทางประวัติศาสตร สังคม และวัฒนธรรม (3 หนวยกิต) มธ. 112 มรดกโลกกอนสมัยใหม (3 หนวยกิต) มธ. 117 พัฒนาการของโลกสมัยใหม (3 หนวยกิต) หมวดวิทยาศาสตร จํานวน 1 วิชา คือ วค. 106 ความยั่งยืนทางทรัพยากรธรรมชาติและพลังงาน (3 หนวยกิต) หมวดพลานามัย จํานวน 15 วิชา คือ พล. 101 สุขภาพและการออกกําลังกายเพื่อคุณภาพชีวิต (2 หนวยกิต) พล. 102 แอโรบิกเพื่อสุขภาพ (1 หนวยกิต) พล. 103 โยคะเพื่อสุขภาพ (1 หนวยกิต) พล. 104 การเสริมสรางสรีระและสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ (1 หนวยกิต) พล. 105 ศิลปะปองกันตัว (1 หนวยกิต) พล. 106 นันทนาการ (1 หนวยกิต) พล. 107 การเจริญสติและฝกสมาธิ (1 หนวยกิต) (1 หนวยกิต) พล. 108 วายน้ํา 1 พล. 109 กรีฑา (1 หนวยกิต) พล. 110 เทนนิส (1 หนวยกิต) พล. 111 แบดมินตัน (1 หนวยกิต) พล. 112 ฟุตบอล (1 หนวยกิต) พล. 113 บาสเกตบอล (1 หนวยกิต) พล. 114 ลีลาศ (1 หนวยกิต) พล. 115 จักรยาน (1 หนวยกิต) 5.2.4 เปลี่ยนแปลงชื่อวิชา รหัสวิชา คําอธิบายรายวิชา ดังนี้ (1) เปลี่ยนแปลงชื่อวิชา รหัสวิชา ปรับคําอธิบายรายวิชา จํานวน 1 วิชา คือ น. 269 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป (3 หนวยกิต) เปน มธ. 122 กฎหมายในชีวิตประจําวัน (3 หนวยกิต)

54
(2) เปลี่ยนแปลงชื่อวิชา ปรับคําอธิบายรายวิชา จํานวน 3 วิชา คือ มธ. 115 มนุษยกับวรรณกรรมโดยการสื่อสารสมัยใหม เปน มนุษยกับผลงานสรางสรรคดานวรรณกรรม ท160 การใชภาษาไทย เปน ภาษาไทยเบื้องตน ท161 การใชภาษาไทย 1 เปน การใชภาษาไทย (3) จัดแยกเนื้อหาวิชา เปน 2 วิชา ไดแก ท162 การใชภาษาไทย 2 เปน ท162 การเขียนรายงานวิชาการ และ ท163 การเขียนเพื่อการสื่อสารในองคกร 5.2.5 ปดรายวิชา จํานวน 3 วิชา ดังนี้ มธ. 111 อารยธรรมไทย มธ. 112 อารยธรรมตะวันตก มธ. 117 อารยธรรมตะวันออก 6. โครงสรางหลักสูตรภายหลังการปรับปรุงแกไข เมื่อเปรียบเทียบกับโครงสรางเดิม และเกณฑมาตรฐานหลักสูตร ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 ของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ปรากฏดังนี้ หมวดวิชา วิชาศึกษาทั่วไป หนวยกิตรวม เกณฑ สกอ. 30 หนวยกิต 30 หนวยกิต โครงสรางเดิม 30 หนวยกิต 30 หนวยกิต โครงสรางใหม 30 หนวยกิต 30 หนวยกิต

55
ตารางเปรียบเทียบโครงสรางหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไปของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ฉบับ พ.ศ. 2547 กับ พ.ศ. 2552 โครงสรางหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป 2547 สวนที่ 1 เปนหลักสูตรกลางของ มหาวิทยาลัยที่กําหนดใหนักศึกษาทุกคน ตองเรียน จํานวน 21 หนวยกิต หมวดมนุษยศาสตร 3 หนวยกิต มธ.110 สหวิทยาการมนุษยศาสตร หมวดสังคมศาสตร 3 หนวยกิต มธ.120 สหวิทยาการสังคมศาสตร โครงสรางหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป 2552 สวนที่ 1 เปนหลักสูตรกลางของ มหาวิทยาลัยที่กําหนดใหนักศึกษาทุกคน ตองเรียน จํานวน 21 หนวยกิต หมวดมนุษยศาสตร 3 หนวยกิต มธ.110 สหวิทยาการมนุษยศาสตร หมวดสังคมศาสตร 3 หนวยกิต มธ.120 สหวิทยาการสังคมศาสตร การเปลี่ยนแปลง

- ผนวกนําหัวขอเรื่อง “Moral Science” เขาไปรวมอยูในวิชานี้ จํานวน 3 สัปดาห (9 ชั่วโมง)

หมวดวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร หมวดวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร 6 หนวยกิต 6 หนวยกิต วิทยาศาสตร 3 หนวยกิต วิทยาศาสตร 3 หนวยกิต มธ.130 สหวิทยาการวิทยาศาสตรและ มธ.130 สหวิทยาการวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี เทคโนโลยี และ คณิตศาสตร 3 หนวยกิต และ คณิตศาสตร 3 หนวยกิต มธ.151 คณิตศาสตรท่วไประดับ ั มธ.151 คณิตศาสตรทั่วไประดับ มหาวิทยาลัย หรือ มหาวิทยาลัย หรือ มธ.152 หลักพื้นฐานทางคณิตศาสตร มธ.152 หลักพื้นฐานทางคณิตศาสตร หรือ หรือ มธ.153 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร มธ.153 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร มธ. 154 รากฐานคณิตศาสตร - เพิ่มวิชาในหมวด/เปลี่ยนแปลง รหัสวิชา มธ. 155 สถิติพื้นฐาน - เพิ่มวิชาในหมวด/เปลี่ยนแปลง ชื่อวิชา คําอธิบายรายวิชา และ รหัสวิชา มธ. 156 คอมพิวเตอรและการเขียน - เพิ่มวิชาในหมวด/เปลี่ยนแปลง โปรแกรมเบื้องตน ชื่อวิชา คําอธิบายรายวิชา และ รหัสวิชา หมวดภาษา 9 หนวยกิต หมวดภาษา 9 หนวยกิต ภาษาไทย 3 หนวยกิต ภาษาไทย 3 หนวยกิต ท.161 การใชภาษาไทย 1 ท.161 การใชภาษาไทย หรือ - เปลี่ยนแปลงชื่อวิชา และ คําอธิบายรายวิชา ท.160 ภาษาไทยเบื้องตน (สําหรับนักศึกษาชาวตางประเทศ หรือ ไดรับอนุมัติจากภาควิชาภาษาไทย)

56
โครงสรางหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป 2547 ภาษาอังกฤษ 6 หนวยกิต สษ.070 ภาษาอังกฤษ 1 ไมนับหนวยกิต สษ.171 ภาษาอังกฤษ 2 สษ.172 ภาษาอังกฤษ 3 สวนที่ 2 เปนรายวิชาที่คณะตางๆ กําหนดให ศึกษา จํานวน 9 หนวยกิต โดยคณะอาจกําหนดรายวิชาใหนักศึกษาจาก รายวิชา ดังนี้ หมวดมนุษยศาสตร มธ.111 อารยธรรมไทย (3) มธ.112 อารยธรรมตะวันตก (3) โครงสรางหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป 2552 ภาษาอังกฤษ 6 หนวยกิต สษ.070 ภาษาอังกฤษ 1 ไมนับหนวยกิต สษ.171 ภาษาอังกฤษ 2 สษ.172 ภาษาอังกฤษ 3 สวนที่ 2 เปนรายวิชาที่คณะตางๆ กําหนดให ศึกษา จํานวน 9 หนวยกิต โดยคณะอาจกําหนดรายวิชาใหนักศึกษาจาก รายวิชา ดังนี้ หมวดมนุษยศาสตร มธ.111 ประเทศไทย ในมิติทาง ประวัติศาสตร สังคม และ วัฒนธรรม มธ.112 มรดกโลกกอนสมัยใหม มธ.113 ความรูพื้นฐานทางปรัชญาและ ศาสนา มธ.115 มนุษยกับผลงานสรางสรรค ดานวรรณกรรม มธ.116 มนุษยกับศิลปะ: ทัศนศิลป ดนตรี และศิลปะการแสดง มธ.117 พัฒนาการของโลกสมัยใหม มธ.118 ภูมิทัศนวัฒนธรรมไทย หมวดสังคมศาสตร มธ.121 มนุษยกับสังคม มธ. 122 กฎหมายในชีวิตประจําวัน มธ.124 สังคมกับเศรษฐกิจ หมวดวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร วิทยาศาสตร มธ.131 มนุษยกับวิทยาศาสตรกายภาพ มธ.142 มนุษยกับวิทยาศาสตรชีวภาพ มธ.143 มนุษยกับสิ่งแวดลอม การเปลี่ยนแปลง

ปดวิชา ปดวิชา เปดวิชาใหม

เปดวิชาใหม

มธ.113 ความรูพื้นฐานทางปรัชญาและ ศาสนา มธ.115 มนุษยกับวรรณกรรมโดยสื่อสาร สมัยใหม มธ.116 มนุษยกับศิลปะ: ทัศนศิลป ดนตรี และศิลปะการแสดง มธ.117 อารยธรรมตะวันออก มธ.118 ภูมิทัศนวฒนธรรมไทย ั หมวดสังคมศาสตร มธ.121 มนุษยกับสังคม น. 269 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมาย ทั่วไป มธ.124 สังคมกับเศรษฐกิจ หมวดวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร วิทยาศาสตร มธ.131 มนุษยกับวิทยาศาสตรกายภาพ มธ.142 มนุษยกับวิทยาศาสตรชวภาพ ี มธ.143 มนุษยกับสิ่งแวดลอม

- ปรับเปลี่ยนชื่อวิชาและ คําอธิบายรายวิชา - ขอใหมีการจํากัดจํานวน นักศึกษาตอหอง ปดวิชา เปดวิชาใหม

- ปรับเปลี่ยนชื่อวิชา คําอธิบาย รายวิชา และรหัสวิชา

57
โครงสรางหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป 2552 วค. 106 ความยั่งยืนทางทรัพยากร ธรรมชาติและพลังงาน หรือคณิตศาสตร นอกเหนือจากวิชาที่ หรือคณิตศาสตร นอกเหนือจากวิชาที่ ถูกกําหนดใหศึกษาเปนวิชาศึกษาทั่วไป ถูกกําหนดใหศึกษาเปนวิชาศึกษาทั่วไป สวนที่ 1 แลว 1 วิชา นักศึกษาอาจเลือก สวนที่ 1 แลว 1 วิชา นักศึกษาอาจเลือก ศึกษาวิชาที่เหลืออีก 2 วิชา เปน วิชาศึกษา ศึกษาวิชาที่เหลืออีก 2 วิชา เปน วิชาศึกษา ทั่วไปสวนที่ 2 ได จากวิชาดังตอไปนี้ ทั่วไปสวนที่ 2 ได จากวิชาดังตอไปนี้ มธ.151 คณิตศาสตรท่วไประดับ ั มธ.151 คณิตศาสตรทั่วไประดับ มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย มธ.152 หลักพื้นฐานทางคณิตศาสตร มธ.152 หลักพื้นฐานทางคณิตศาสตร มธ.153 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร มธ.153 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร มธ. 154 รากฐานคณิตศาสตร มธ. 155 สติติพื้นฐาน มธ. 156 คอมพิวเตอรและการเขียน โปรแกรมเบื้องตน วท. 142 คณิตศาสตรสําหรับวิทยาศาสตร หมวดภาษา หมวดภาษา ภาษาไทย ภาษาไทย ท.162 การใชภาษาไทย 2 ท.162 การเขียนรายงานวิชาการ ท.163 การเขียนเพื่อการสื่อสารในองคกร ภาษาตางประเทศ ภาษาตางประเทศ นักศึกษาอาจเลือกศึกษาภาษาตางประเทศ นักศึกษาอาจเลือกศึกษาภาษาตางประเทศ เพิ่มเติมมากกวา 1 ภาษา (2 วิชา 6 หนวยกิต) เพิ่มเติมมากกวา 1 ภาษา (2 วิชา 6 หนวยกิต) ตามที่คณะกําหนดไวเปนวิชาศึกษาทั่วไป ตามที่คณะกําหนดไวเปนวิชาศึกษาทั่วไป สวนที่ 2 สวนที่ 2 หมวดพลานามัย พล. 101 สุขภาพและการออกกําลังกาย เพื่อคุณภาพชีวิต พล. 102 แอโรบิกเพื่อสุขภาพ พล. 103 โยคะเพื่อสุขภาพ พล. 104 การเสริมสรางสรีระและ สมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ พล. 105 ศิลปะปองกันตัว พล. 106 นันทนาการ พล. 107 การเจริญสติและฝกสมาธิ พล. 108 วายน้ํา โครงสรางหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป 2547 การเปลี่ยนแปลง - เปดวิชาใหม

- เพิ่มวิชาในหมวด - เพิ่มวิชาในหมวด - เพิ่มวิชาในหมวด - เพิ่มวิชาในหมวด

- แยกออกจาก ท. 162 - แยกออกจาก ท. 162

- เปดวิชาใหม - เปดวิชาใหม - เปดวิชาใหม - เปดวิชาใหม - เปดวิชาใหม - เปดวิชาใหม - เปดวิชาใหม - เปดวิชาใหม

58
โครงสรางหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป 2547 โครงสรางหลักสูตรวิชาศึกษาทั่วไป 2552 พล. 109 กรีฑา พล. 110 เทนนิส พล. 111 แบดมินตัน พล. 112 ฟุตบอล พล. 113 บาสเกตบอล พล. 114 ลีลาศ พล. 115 จักรยาน การเปลี่ยนแปลง - เปดวิชาใหม - เปดวิชาใหม - เปดวิชาใหม - เปดวิชาใหม - เปดวิชาใหม - เปดวิชาใหม - เปดวิชาใหม

ตารางแสดงรายวิชาในหลักสูตรของคณะตางๆ ที่สามารถนับวิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 2 เปนวิชาเลือกเสรีได
รายวิชา 1. วิชาศึกษาทั่วไปของหมวดภาษาตางประเทศ (ภาษาที่ 2) 2. วิชาศึกษาทั่วไปของหมวดพลานามัย 3. วิชาในหลักสูตรปริญญาตรีของคณะตางๆ น.150 สิทธิขั้นพื้นฐาน (3) น.209 หลักกฎหมายแพงและพาณิชย (3) น.246 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับทรัพยสินทางปญญา (3) พบ.291 ธุรกิจเบื้องตน (3) ทอ.201 หลักการบริหาร (3) ศ.210 เศรษฐศาสตรเบื้องตน (3) ศ.213 เศรษฐศาสตรจุลภาคเบื้องตน (3) จ.211 จิตวิทยาทั่วไป (3) จ.228 จิตวิทยาความสัมพันธระหวางบุคคล (3) อ.221 การอานเชิงวิเคราะหขอมูล (3) อ.241 การฟง-การพูด 1 (3) วย.106 เทคนิคในการสื่อสารและการนําเสนอ (2) พศ.100 จริยศาสตรพื้นฐาน (1) ผม.103 การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ วางแผน (3) สผ.162 ฟสิกสประยุกตสําหรับสิ่งแวดลอม สรรคสราง (3) สผ.163 ประวัติศาสตรศิลปะ (3) สผ.164 เศรษฐศาสตรสําหรับสิ่งแวดลอมสรรคสราง (3) สษ.202 ภาษาอังกฤษสําหรับการทํางาน (3) สษ.217 การฟงและการพูดดานวิชาการ สษ.295 ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ 1 (3) สษ.296 ภาษาอังกฤษเพื่อจุดประสงคทางวิชาการ 1 (3) สษ.317 การอานและการเขียนดานวิชาการ สษ.396 ภาษาอังกฤษเพื่อจุดประสงคทางวิชาการ 2 (3) คณะ สค. ศศ. วส. สว. วท. วศ. พศ. สห. ทพ. พย. ศก. สถ. สส. สธ.

น. พบ.

ร.

ศ.

หมายเหตุ: 1.

นับเปนวิชาเลือกเสรีไดอยางเดียว นับเปนวิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 2 หรือเปนวิชาเลือกเสรีก็ได (หากนักศึกษาเลือกศึกษาวิชาใดเปน วิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 2 แลว ก็ไมสามารถนับวิชานั้นเปนวิชาเลือกเสรีหรือในทางกลับกัน) ไมสามารถนับเปนวิชาเลือกเสรีได 2. สําหรับคณะศิลปศาสตร วิทยาศาสตรฯ และคณะสถาปตยกรรมศาสตรฯ ในแตละสาขาวิชามีการกําหนดวิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 2 แตกตางกันไปในการ นับวิชาศึกษาทั่วไปสวนที่ 2 เปนวิชาเลือกเสรี จึงขอใหดูขอกําหนดของแตละหลักสูตรประกอบดวย

Similar Documents

Free Essay

The B-1 Bomber

...THE B-1 Bomber: Victim of a “Buy before you Fly: Philosophy December 17, 2015 THE B-1 Bomber: Victim of a “Buy before you Fly: Philosophy     Introduction The B-1 Bomber is a four-engine supersonic variable-sweep wing, jet-powered heavy strategic Bomber that is used by the U.S. Air Force. It was first envisioned in the 1950’s as a supersonic Bomber with Mach 2 speed, and sufficient range and payload to replace the Boeing B-52 Stratofortress. However, when it was brought into full operation, it was developed into the B-1B, primarily a low level penetrator with long range and Mach 1.25 speed capability at high altitude. The initial B-1 Bomber program was cancelled, partly because it was becoming obsolete, and also for political reasons. It was designed by the Rockwell international developers and it started service in the year of 1986 with the help of Strategic Air Command SAC. Customer and Expectations The United States Air Force USAF was the primary customer for the B-1B program, and the Strategic Air Command was the direct customer responsible for operating the B-1 Bomber. During development of the B-1 Bomber the Air Force had varying expectations which lead to it initial cancellation and regeneration of the B-1B that we know today. (Brook, 2012). The United Sates Air Force USAF expected the B-1B program to provide the advanced capability that was needed to improve their defense system. The major expectation associated with this program for the United Sates...

Words: 1754 - Pages: 8

Premium Essay

Organizational Paper

...large contribute to the money making airline marketplace with healthy acknowledgement for models like seven three seven, seven four seven, seven five seven, seven six seven, and 777, and the development of seven eight seven. The company supervises regardless of strong competition from European association Airbus Industries and other American manufacturers similar to McDonnell Douglas, that increase important financial support on or after a numeral of governments from European (Gonzalez, 2007). Military big business Boeing Company struggle for through time to wrap bonds for air jet of all type (the B-1B and B-2 bombers, the stealth bomber, stealth fighter, at the same time as important transaction have to carry out with KC-135 tanker and the B-52 bomber) for...

Words: 1083 - Pages: 5

Free Essay

Organizing Paper

...contribute to the money making airline marketplace with healthy acknowledgement for models like seven three seven, seven four seven, seven five seven, seven six seven, and 777, and the development of seven eight seven. The company supervises regardless of strong competition from European association Airbus Industries and other American manufacturers similar to McDonnell Douglas, that increase important financial support on or after a numeral of governments from European (Gonzalez, 2007). Military big business Boeing Company struggle for through time to wrap bonds for air jet of all type (the B-1B and B-2 bombers, the stealth bomber, stealth fighter, at the same time as important transaction have to carry out with KC-135 tanker and the B-52 bomber) for military. Boeing Company competitor deals with designed such as pilot-less drones, helicopters, and... View...

Words: 282 - Pages: 2

Premium Essay

Business Diversifications of Boeing and Ford Motors

...STRAYER UNIVERSITY | Business diversifications of Boeing and Ford Motors | Victor Adejayan | | PROFESSOR WALTER WILLIAM DINGMAN | BUS 508 | A qualitative analysis of the diversification efforts of Boeing and Ford Motors. | Diversification:- Diversification is the process of entering new business markets with new products. Such efforts may be undertaken either through acquisitions or through extension of the company's existing capabilities and resources. The diversification process is an essential component in the long range growth and success of most thriving companies, for it reflects the fundamental reality of changing consumer tastes and evolving business opportunity. But the act of diversifying requires significant outlays of time and resources, making it a process that can make or break a company. Small business owners, then, should carefully study diversification options—and their own fundamental strengths—before proceeding (Gale Encyclopedia of Small Business). Barron’s Marketing Dictionary defines Diversification as; Corporate growth strategy whereby a business builds its total sales by acquiring or establishing other businesses that are not directly related to the company's present product or market (Barron's Business Dictionary). Barron also identified the three major diversification strategies as the following; Concentric diversification, where the new business produces products that are technically similar to the company's current...

Words: 1419 - Pages: 6

Free Essay

Ancient Roman Institutions

...La política, tal como la conocemos hoy; discursos, campañas electorales etc, tiene como muchos otros aspectos de nuestra cultura occidental, una base en la de la antigua Roma. La historia romana se puede dividir en tres etapas, la monarquía, la república y el periodo imperial. A lo largo de este tiempo la política sufrió cambios. En un principio roma estaba gobernada por reyes , este cargo no era hereditario pero si vitalicio, de esta época vienen las distinciones de clases (patricios, clase ecuestre plebeyos y esclavos) el senado, los magistrados. Mas tarde cambiaria a un sistema republicano, donde se abolieron muchas desigualdades entre plebeyos y patricios. Y después a el llamado sistema imperial que no era mas que una dictadura camuflada que termino por consumirse a si misma. Después roma sería dividida en dos; imperio de oriente y de occidente. El primero aguantara hasta el fin de la edad media, pero el de occidente caerá pasto de los barbaros invasores del norte que se repartirán las tierras e iniciaran el sistema feudal acabando con la edad antigua y comenzando con la edad media. La República La desigualdad generó el primer cambio político, el paso de la monarquía a la república. En esta etapadesaparece la figura del rey, y el poder recae sobre el senado. La Constitución de la República romana reposaba sobre el equilibrio de 3 órganos políticos que se controlan mutuamente y que se crean para evitar la restauración del poder personal:...

Words: 1616 - Pages: 7

Free Essay

Balance Score Card

...ambientes que requieren mejora continua por causas competitivas o dinamismo del mercado. Este tipo de contabilidad se define por cuatro elementos importantes: 1. Asignación de la responsabilidad 2. Establecimiento de medidas de desempeño 3. Evaluación de desempeño 4. Asignación de recompensas Su objetivo principal es resaltar el desempeño financiero de las unidades de la empresa, para luego evaluar y recompensar el desempeño. Esta evaluación se hace utilizando estándares orientados de manera financiera (presupuestos, reducción de costos en un periodo). Sin embargo este procedimiento tiene una limitación, la cual consiste que búsqueda del mejoramiento continuo se fragmenta y se deja de conectar con la misión y estrategia general de la empresa. Esta limitación genera que la mejora continua no tenga una dirección, por lo que se...

Words: 947 - Pages: 4

Free Essay

Arte de La Guera

...peligro. De modo que MANDO ha de ser comprendida como la organización del ejército, las graduaciones y rangos entre los oficiales, la regulación de las rutas de suministros, y la provisión de material militar al ejército. DISCIPLINA Ha de tener como cualidades: sabiduría, sinceridad, benevolencia, coraje y disciplina. Las distancias, y hace referencia a dónde es fácil o difícil desplazarse. Implica: El que está a la cabeza del ejército está a cargo de las vidas de los habitantes y de la seguridad de la nación. Lo más importante en una operación militar es la victoria y no la persistencia. Si utilizas al enemigo para derrotar al enemigo, serás poderoso en cualquier lugar a donde vayas. En consecuencia, un general inteligente lucha por desproveer al enemigo de sus alimentos. Cada porción de alimentos tomados al enemigo equivale a veinte que te suministras a ti mismo. Los que no son totalmente conscientes de la desventaja de servirse de las armas no pueden ser totalmente conscientes de las ventajas de utilizarlas. Nunca es beneficioso para un país dejar que una operación militar se prolongue por mucho tiempo. CAPÍTULO II: SOBRE LA INICIACION DE LAS ACCIONES Si tus fuerzas son diez veces superiores a las del adversario, rodéalo; si son cinco veces superiores, atácalo; si son dos veces superiores, divídelo. Si tus fuerzas son iguales en número, lucha si te es posible. Si tus fuerzas son inferiores,...

Words: 2042 - Pages: 9

Free Essay

National Anthem of Ecuador

...por tradición, se canta una de ellas y el coro. | | HISTORIA DEL HIMNOHISTORIA DEL HIMNO NACIONAL |  1830-1832: El bardo guayaquileño José Joaquín de Olmedo escribe una Canción Nacional (un coro y cuatro estrofas) en homenaje al naciente Estado ecuatoriano. Esta creación sugerida por el Gral. Juan José Flores no fue musicalizada ni tampoco logró difusión. 1833: Un himno con título de Canción Ecuatoriana (seis estrofas) se publicó en la Gaceta del Gobierno del Ecuador No. 125 del 28 de diciembre. El trabajo señala 1830 como el año de su creación, pero la mayoría de los cronistas no le presta total atención por ser de un autor anónimo. 1838: Una Canción Nacional (coro y cinco estrofas) aparece incluida en el folleto Poesías del General Flores en su retiro de La Elvira, que publicó la Imprenta del Gobierno. En edición posterior presenta cambios en su tercera estrofa. Aún así, para los historiadores es la segunda Canción Nacional que se conoce.  1865: El músico argentino, Juan José Allende, que colaboraba con el Ejército del Ecuador, presenta al Congreso...

Words: 2841 - Pages: 12

Free Essay

RegíMenes Aduaneros En MéXico

...Regímenes Aduaneros Todas las mercancías que ingresen o que salen de México deben destinarse a un régimen aduanero, establecido por el contribuyente, de acuerdo con la función que se le va a dar en territorio nacional o en el extranjero. Cuando una mercancía es presentada en la aduana para su ingreso o salida del país, se debe informar en un documento oficial (pedimento) el destino que se pretende dar a dicha mercancía. Nuestra legislación contempla seis regímenes con sus respectivas variantes: 1. Definitivos De exportación Exportación Definitiva El régimen de exportación definitiva consiste en la salida de mercancías del territorio nacional para permanecer en el extranjero por tiempo ilimitado. De importación Importación Definitiva Se considera régimen de importación definitiva la entrada de mercancías de procedencia extranjera con la finalidad de permanecer en el territorio nacional por tiempo ilimitado. 2. Temporales De importación Es la entrada al país de mercancías extranjeras para permanecer en él por tiempo limitado y con una finalidad específica.   a) Para retornar al extranjero en el mismo estado b) Para elaboración, transformación o reparación De exportación Se entiende por este régimen, la salida de mercancías del país por un tiempo limitado y con una finalidad específica, en este régimen no se pagan los impuestos al comercio exterior, pero se deben cumplir las obligaciones en materia de regulaciones y restricciones no arancelarias y formalidades...

Words: 936 - Pages: 4

Free Essay

Cna Comision Nacional Agropecuaria

...inversión, agroindustrialización, comercialización y otros Las agrupaciones la conforman en su gran mayoría organizaciones agrícolas, campesinas y ganaderas de todo el país. Entre las empresas mas importantes podemos mencionar a: -Gruma -Jumex -Bachoco -Bimbo -Danone -Herdez -Nestle Su objetivo es representar, defender y fomentar la actividad agropecuaria. Está integrado por organismos de productores y empresas de los sectores agrícola, pecuario y agroindustrial. Está organizado por medio de una asamblea, un comité directivo, una comisión ejecutiva, comisiones de trabajo y un staff. Está regido por un estatuto que es ejecutado por el Presidente del Consejo, Vicepresidentes, un Tesorero, un Secretario y Consejeros. ASAMBLEA GENERAL Es el órgano supremo y está constituido por los Socios y Asociados. Pueden ser de dos tipos: Generales Ordinarias y Generales Extraordinarias. Las primeras se realizan por lo menos en forma anual, en ellas se trata cualquier asunto que no sea la modificación de Estatutos ni la disolución del Consejo Nacional Agropecuario. COMITÉ DIRECTIVO Es la instancia encargada de dirigir al Consejo Nacional Agropecuario, constituida por el Presidente del Consejo, quien será a su vez el Presidente del Comité Directivo, por Vicepresidentes, un Tesorero, un Secretario y Consejeros. El Comité Directivo se compone en un 75 por ciento de miembros Socios y 25 por ciento de miembros Asociados...

Words: 435 - Pages: 2

Free Essay

Destin Brass

...Anexo 1 - Analisis rentabilidad en productos (dólares) Valvulas Bombas Reguladores de flujo Costes unitario estandar 37,56 63,12 56,5 Precios de venta fijados 57,78 97,1 86,96 Margen bruto previsto (%) 35% 35% 35% ULTIMO MES Precio de venta real 57,78 81,26 97,07 Margen bruto real (%) 35% 22% 42% Valvulas Bombas Reguladores de flujo % ingresos compañía 24% 55% 21% Margen bruto prev. Ponderado 8% 19% 7% 35% Margen bruto real. Ponderado 8% 12% 9% 29% Anexo 2 - Resumen de productos y costos mensuales (dólares) Valvulas Bombas Reguladores de flujo Total mensual Prod. Mensual (unid.) 7.500 12.500 4.000 Ciclos 1 5 10 Envíos mensuales (unid.) 7.500 12.500 4.000 Cantidad envíos 1 7 22 Costes fabricación Material Cantidad de componentes 4 5 10 Total costo componentes 16 20 22 458.000 $$ Mano de obra (16 $ x hora) Hs MOD puesta a punto x ciclo de fabricación 8 8 12 168 horas hombre Hs MOD por ciclo x unidad 0,25 0,5 0,4 9.725 horas hombre Hs Utilización Maquinas x unidad 0,5 0,5 0,2 10.800 horas maquina Gastos generales de fabricación ...

Words: 955 - Pages: 4

Free Essay

Toyota

...Application Tracking Number http://www.bangladesh-bank.org/onlineapp/view_trackin... Feedb ack | Sitemap | Disclaimer BB Order & other statutes Home About Us Regulations and guidelines Procurements underway Departments & offices Jo b open ing s Contact Job op enings Please Print and preserve this page. Thank you Bappa sarkar, for submitting your application for the post of Assistant Dire cto r (Ge ne ral Side ) o f Ban glade sh Ban k. C V ident ificat io n n umbe r N ame F at her M o th er Birt h date Pre sen t address : 229279-961694 : Bappa sarkar Jo gadish C handra : Sarke r : Purn ima Sarke r : 15 Octo ber, 1985 : C /O: Dr. Jog adish C handra Sarkar Sarke r M rdical Hall, Bo rdia Bazar P.O.: Bo rdia, T hana: Lo gago ra, District : Narail. R elat ed links Ed it resu me C han ge pass w ord Sear ch C V T rack Id FAQ P rin t trackin g p ag e P rin t th is p age Your application tracking number is 13 3 -229279-3 93 611. And CV identification number is 229279-961694. This CV identification number will be required to view and edit your resume (if necessary) upto closing date 3 1 Oct , 2012. Please Print and preserve this page. All academic certificates, marksheets/transcripts, citizenship certificate and other relevant certificates/documents will be called for later on. 1 of 1 10/18/2012 12:46 PM...

Words: 251 - Pages: 2

Free Essay

Comportamiento Humano

...Contestar las siguientes consignas: 1) Sobre tu empresa: * Indica su nombre y rubro. COTO VIAJES SRL. Coto Viajes SRL es una unidad de negocio independiente dentro de COTO CICSA. Rubro: Turismo * ¿Cuál es a tu juicio su finalidad? Regula el proceso desde la solicitud de información de servicios terrestres y aéreos para viajes Corporativos y Vacacionales hasta la emisión de la solicitud del pago y el servicio Post-Venta realizando un seguimiento posterior al viaje telefónicamente y mediante encuestas de satisfacción de calidad en búsqueda de una mejora continua. * ¿Puedes identificar cinco problemas que hoy enfrenta? 1. Falta de personal ( Se necesitaría un ejecutivo más) 2. Escases al ofrecer medios de pagos al cliente. 3. Muchos departamentos y personas (Sin conocimiento técnico turístico) involucrados en la gestión diaria de Coto Viajes. 4. Solo venta a empleados de la compañía (cliente interno) 5. Falta de estandarización de procedimientos a seguir. 2) Sobre tu Sector: tomando el sector del cual eres responsable o en el cual trabajas (y en este caso viéndolo desde la mirada del responsable del mismo) pregúntate lo siguiente: * ¿Cuáles son las tareas principales que hacemos en el sector? * Recepción de pedidos de viajes corporativos verificando el formulario con las autorizaciones respectivas y derivación del mismo a un Operador de Reservas * Responsable sobre el control y seguimiento de los viajes corporativos...

Words: 534 - Pages: 3

Premium Essay

Bikram Singh

...General Bikram Singh assumes charge as the Chief of Army Staff on May 31, 2012.  He becomes the 25th chief of the world's second-largest army. He was commissioned on March 31, 1972, into the Sikh Light Infantry (SIKHLI) Regiment. His colleagues remember him as a bright cadet at the Indian Military Academy (IMA), where he held the appointment of Battalion Cadet Adjutant (BCA).  The affable cadet, known as 'Bikki' to his friends, topped the Young Officer's course at the Infantry School and was adjudged the 'Best Young Officer.' He was also awarded the prestigious 'Commando Dagger' for being the best commando along with 'Best in Tactics' trophy.   It was during his tenure as an instructor at the Commando Wing of the Infantry School that General Singh met the woman he would marry. Then a young Captain, he met, Surjeet Kaur - popularly known as 'Bubbles' in army circles - at a family wedding. "It indeed was love at first sight," the General recalled.  "Within a week, things were arranged and we got engaged. However, I was not happy with the marriage being fixed after six months. So, I called her up from Belgaum and told her to be prepared for marriage within a month. Of course, this required convincing parents and family members on both sides." Bubbles joined him at the Commando Wing of the Infantry School within the stated time-frame. "During various demonstrations that used to be organised for the public, I ensured that Bubbles was present to see and appreciate our commando...

Words: 786 - Pages: 4

Premium Essay

Personal Responsibility Essay

...Personal Responsibility Personal Responsibility is about being accountable for our actions, accepting the ramifications of those actions and realize that what does one do affects those around us. It begins when we recognize a problem or a need regardless if is our own, another person or perhaps the society. Some personal responsibilities may be taken care of independently, while others require the collaboration and agreement of others. It is the commitment of each and every individual that considers truly being a very good citizen of a community. In addition, personal responsibility needs to monitor and evaluate one’s own actions, motivations and their results. It entails continuous reevaluation of what we think and why; contrasting that with anything new that we may have learned or discovered. Personal responsibility is the foundation of a wholesome, productive and valuable existence. Personal responsibility involves courage and self-confidence, and is an obligation to do what is right; an action of caring or can also be as simple as cleaning up after yourself and as challenging as starting a community group to help reduce crime, or as uncomfortable as changing a part of oneself that we recognize is negative to you and/or others. Personal responsibility is a determination we choose to live up to our own beliefs and expectations. Taking personal responsibility signifies that we have to overcome the concern of failure and commit to continue trying no matter what. Personal...

Words: 454 - Pages: 2